สื่อ online สร้างเครือข่ายไร้พรมแดน เว็บข่าว Online 24 ชั่วโมง       
สำนักข่าวเด็กและเยาวชน สถานีอาร์ทีวีวัน สื่อออนไลน์ สร้างเครือข่าย ไร้พรมแดน วิทยุ-โทรทัศน์ เพื่อการศึกษา ผลิตโดยกลุ่มเยาวชนเพื่อเยาวชน คลิกที่นี่

อ่านบทความสกู๊ปพิเศษ

“ครองใจคน” หลากหลายเหตุผลที่คนไทยรัก “ในหลวง”

ข่าวประชาสัมพันธ์


สำนักข่าวเด็กและเยาวชน สถานี อาร์ ทีวี วัน ร่วมแสดงความจงรักภักดี์ โครงการถวาย ๘๔ พรรษา

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำรัสพระราชทานแก่ป ระชาชนชาวไทย ในโอกาสขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช 2555 ความว่า "ประชาชนชาวไทยทั้งหลาย บัดนี้ถึงวาระจะขึ้นปีใหม่ ข้าพเจ้าขอส่งความปรารถนาดี มาอวยพรแก่ท่านทุก ๆ คน และขอขอบใจท่านเป็นอย่างมาก ที่ร่วมกันจัดงานฉลองอายุคร บ 7 รอบให้อย่างเหมาะสมงดงาม ระหว่างปีที่แล้วเหตุการณ์ต ่าง ๆ ในบ้านเมืองนับว่าเป็นปรกติ ดี แต่พอเข้าปลายปี ก็เกิดน้ำท่วมครั้งใหญ่ เป็นเหตุให้ประชาชนหลายจังห วัดต้องประสบอันตรายและความ เดือดร้อน ลำบาก ความเสียหายครั้งนี้ดูจะร้า ยแรงกว่าครั้งไหน ๆ ที่ผ่านมา ข้อนี้น่าจะเป็นเครื่องเตือ นใจอย่างสำคัญดังที่ข้าพเจ้ าได้กล่าวไว้หลายครั้งแล้วว ่า วิถีชีวิตของคนเรานั้น จะต้องมีทุกข์ มีภัย มีอุปสรรค ผ่านเข้ามาเนือง ๆ ไม่มีผู้ใดจะอยู่เป็นปรกติส ุขอย่างเดียวได้ ทุกคนจึงต้องเตรียมกาย เตรียมใจ และเตรียมการไว้ให้พร้อมเสม อ เพื่อเผชิญและป้องกันแก้ไขค วามไม่ปรกติเดือดร้อนต่าง ๆ ด้วยความไม่ประมาท ด้วยเหตุผล ด้วยหลักวิชา และด้วยสามัคคีธรรม ในปีใหม่นี้จึงขอให้ประชาชน ชาวไทยได้ตั้งตนอยู่ด้วยควา มไม่ประมาท โดยมีสติ รู้ตัว และปัญญา รู้ผิด กำกับอยู่ตลอดเวลา ผู้ใดที่มีภาระหน้าที่อันใด ก็เร่งกระทำให้สำเร็จลุล่วง กันไป ให้ทันการณ์ทันเวลา ผลงานทั้งนั้นจะได้ส่งเสริม ให้แต่ละคนประสบแต่ความสุข ความเจริญ และทำให้ชาติบ้านเมืองดำรงม ั่นคงและก้าวหน้าต่อไป ด้วยความผาสุกสวัสดี ขออานุภาพแห่งคุณพระศรีรัตน ตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้ งหลาย จงคุ้มครองรักษาท่านทุกคนให ้มีความสุข ไม่มีทุกข์ ไม่มีภัย ตลอดศกหน้านี้โดยทั่วกัน"
 

   

              
   
ดาว์โหลด เว็บบราวเซอร์ ที่ใช้ท่องความเร็วในการเล่นอินเตอร์เน็ตที่ดีที่สุดในการเข้าชมเว็บไซต์ของทางสถานี อาร์ ทีวี วัน

เพื่อความสมบูรณ์ในการนำเสนอของ www.rtv1.net 
กรุณาติดตั้งโปรแกรมเสริม Adobe Flash สำหรับแสดงผลข้อมูลในรูปแบบมัลติมีเดีย และ Apple Quictime สำหรับแสดงผลข้อมูลในรูปแบบ Quicktime VR

        

การแสดงหน้าเว็ปที่เหมาะสมควรใช้Google Chrome
RTV1   STATION   THAILAND
 
สำนักข่าวเด็กและเยาวชน สถานี อาร์ ทีวี วีน สื่อ Online สร้างเครือข่ายไร้พรมแดน เว็บข่าว 24 ชั่วโมง
 
 
 
 
 
 
สถานี อาร์ ทีวี วัน วิทยุ โทรทัศน์ เพื่อข่าวสาร สาระบันเทิง และเพื่อการศึกษา ผลิตโดย กลุ่มเยาวชนเพื่อเยาวชน +
 
โลโก้ ช่อง 3 - คลิกที่นี่เพื่อดูรูปภาพใหญ่
โลโก้  ช่อง 5 - คลิกที่นี่เพื่อดูรูปภาพใหญ่
โลโก้ ช่อง 7 - คลิกที่นี่เพื่อดูรูปภาพใหญ่

ข่าวการเมืองไทยติด 10 อันดับ ติดกระแส อัพเดดตลอด 24 ชั่วโมง

ข่าวสั้นทันทุกวินาที   

ข่าวด่วน สถานการณ์ร้อนๆ
ที่เกิดขึ้นทั่วไทย ทั่วโลก อัปเดตทุก24 ชม.ให้คุณทันเหตุการณ์โลกทุกๆวัน.

โดยทีม ข่าวพิราบขาว


 
ขอขอบคุณสำนักข่าวทุกสำนัก และ ช่างภาพทุกท่าน ทีมข่าว อาร์ ทีวี วัน
  อ่านข่าวเด่นประเด็นร้อน ข่าวด่วน สถานการณ์ร้อนๆ ที่เกิดขึ้นทั่วไทย ทั่วโลก อัปเดตทุก24 ชม.ให้คุณทันเหตุการณ์โลกทุกๆวัน
 
โดยทีมข่าว อาร์ ทีวี วัน

คลิกอ่านข่าวทั้งหมดที่นี่

 

 

 

ทีมข่าว อาร์ ทีวี วัน                                                     เกาะติดสถานการณ์น้ำท่วม   24 ชั่วโมง  

 
 

CCTV เขื่อนภูมิพล  ดูความเคลื่อนไหวของประตูระบายน้ำต่างๆ   คลิกที่นี่ตรงนี้

ศูนย์ประสานงานเฉพาะกิจ เกาะติดน้ำท่วม ร่วมกับ ศูนย์เครือข่าย์วิทย ุวี.อาร์.
 

 
 
 

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย
3/12 ถ.อู่ทองนอก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทรศัพท์ 0-2637-3000 และ มท.55050 - 58
 
 
 
ปภ.จันทบุรีเตือนประชาชนระวังน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก


นายจุมพฎ วรรณฉัตรศิริ หัวหน้าสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดจันทบุรี เปิดเผยว่า ในช่วงนี้ร่องมรสุมกำลังอ่อนพาดผ่านภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ประกอบกับลมมรส...ดูเพิ่มเติม
รูปภาพ : ปภ.จันทบุรีเตือนประชาชนระวังน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก     	 	  นายจุมพฎ วรรณฉัตรศิริ หัวหน้าสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดจันทบุรี เปิดเผยว่า ในช่วงนี้ร่องมรสุมกำลังอ่อนพาดผ่านภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ประกอบกับลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้กำลังปานกลางยังคงปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย ลักษณะเช่นนี้ทำให้มีฝนฟ้าคะนองกระจายเกือบทั่วไป และมีฝนตกหนักบางแห่งบริเวณภาคตะวันออก และภาคใต้  จึงขอเตือนประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย ที่ลาดเชิงเขาใกล้ทางน้ำไหลผ่าน ให้ระมัดระวังอันตรายจากฝนตกหนัก อันอาจทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันน้ำ ป่าไหลหลาก ในช่วงวันถึงสองวันนี้ รวมทั้งขอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เตรียมความพร้อม และจัดเจ้าหน้าที่อยู่ปฏิบัติงานเฝ้าระวัง 24 ชั่วโมง รวมทั้งตรวจสอบเขื่อน ฝาย อ่างเก็บน้ำ และคันกั้นน้ำ ถ้าไม่มีความแข็งแรง พิจารณาแล้วอาจเป็นอันตราย ให้เร่งรีบแก้ไขโดยด่วน หากมีเหตุการณ์น้ำป่าไหลหลาก น้ำท่วมฉับพลัน ดินโคลนถล่ม ขอความช่วยเหลือได้ที่ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจฯจังหวัดจันทบุรี หมายเลขโทรศัพท์ / โทรสาร  0 – 3931 – 2100 หรือ  0 – 3932 – 5139        ผู้สื่อข่าว : จันทบุรี
อัพเดทข่าว แผ่นคอนกรีตจากประตูน้ำจุฬา-แม่น้ำจพย.ช่วยกั้นน้ำพื้นที่หลักหก-บ้านใหม่-ปากเกร็ด-กทม.ตะวันออก
รูปภาพ : อัพเดทข่าว    แผ่นคอนกรีตจากประตูน้ำจุฬา-แม่น้ำจพย.ช่วยกั้นน้ำพื้นที่หลักหก-บ้านใหม่-ปากเกร็ด-กทม.ตะวันออก

ม.รังสิตสั่งวางระบบรปภ.เข้ม หลังเกิดเหตุปล้นนศ. พร้อมจับมือชุมชนปรับปรุงภูมิทัศน์
หลังน้ำท่วม




มหาวิทยาลัยรังสิตจับมือเทศบาลตำบลหลักหก จ.ปทุมธานี และ กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 7 หน่วยบัญชาการป้องกันทางอากาศ
กองทัพบก (ปตอ.7) พร้อมแ...ดูเพิ่มเติม

รูปภาพ : ม.รังสิตสั่งวางระบบรปภ.เข้ม หลังเกิดเหตุปล้นนศ. พร้อมจับมือชุมชนปรับปรุงภูมิทัศน์หลังน้ำท่วม       มหาวิทยาลัยรังสิตจับมือเทศบาลตำบลหลักหก จ.ปทุมธานี และ กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 7 หน่วยบัญชาการป้องกันทางอากาศ กองทัพบก (ปตอ.7) พร้อมแผกรักษาความปลอดภัยและคนสวน มหาวิทยาลัยรังสิต พร้อมใจกันร่วมปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณเกาะกลางทางเข้าเมืองเอก ตามโครงการหน้าบ้านน่ามอง เพื่อปรับปรุงทัศนียภาพของหมู่บ้านเมืองเอกและมหาวิทยาลัยรังสิตให้มีความสวยงามหลังผ่านเหตุการณ์น้ำท่วมเมื่อปีที่ผ่านมา     นอกจากนี้ทาง ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการมหาวิทยาลัยรังสิตยังมีคำสั่งให้แผนกรักษาความปลอดภัยและ สำนักงานศิษย์เก่าและชุมชนสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยรังสิต จัดระบบรักษาความปลอดภัยบริเวณทางเข้าเมืองเอกทุกด้าน หลังเกิดเหตุปล้นทรัพย์นักศึกษา 2 รายในหมู่บ้านเมืองเอก  พร้อมขอความร่วมมือจัดทำสติกเกอร์ และบัตรผ่านเข้าออก เสมือนเป็นความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อสร้างความอุ่นใจให้กับชาวหมู่บ้านเมืองเอกและนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตที่พักอาศัยบริเวณหอพักต่างๆ ในหมู่บ้านเมืองเอก
ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติจัดโครงการการสื่อสารเพื่อเฝ้าระวังและเตือนภัย …….
เมื่อวันที่ 23-24 มิถุนายน 2555 ที่ห้องประชุมเทศบาลตำบลกะรน อำเภอเมืองภูเก็ต
ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กสทช. ศูนย์แจ้งเหตุดอนนก กอ.รมน.กองทัพเรือภาคที่ 3...ดูเพิ่มเติม
รูปภาพ : ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติจัดโครงการการสื่อสารเพื่อเฝ้าระวังและเตือนภัย …….          เมื่อวันที่ 23-24 มิถุนายน 2555 ที่ห้องประชุมเทศบาลตำบลกะรน อำเภอเมืองภูเก็ต ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กสทช. ศูนย์แจ้งเหตุดอนนก กอ.รมน.กองทัพเรือภาคที่ 3 ร่วมกับเครือข่ายเพื่อนเตือนภัยจังหวัดภูเก็ต ได้จัดอบรม  'โครงการการสื่อสารเพื่อเฝ้าระวังภัยและเตือนภัยพิบัติอบรมพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือภาคประชาชนผู้มีจิตอาสา เพื่อนเตือนภัยจังหวัดภูเก็ต' การอบรมมีขึ้นระหว่างวันที่ 23-24 มิถุนายน 2555 มีนายสมเกียรติ สังข์ขาวสุทธิรักษ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต เป็นประธานเปิดการอบรม โดยมีนายมนัส ทรงแสง  ประธานเครือข่ายเพื่อนเตือนภัยแห่งประเทศไทย ผู้แทนจากกระทรวงไอซีที กสทช. ผู้แทนจาก กอ.รมน.กองทัพเรือภาคที่ 3 ประธานศูนย์เพื่อนเตือนภัยจังหวัดภูเก็ต ตัวแทนจากบริษัท ทีโอทีจังหวัดภูเก็ต เทศบาลตำบลกะรน ศูนย์เฝ้าระวังภัยกมลา ชมรมวิทยุถลางสัมพันธ์ สมาคมนักวิทยุสมัครเล่นจังหวัดภูเก็ต ตลอดจนเครือข่ายนักวิทยุเครื่องแดง245เข้าร่วมการอบรม  โดยมีวิทยากรจากศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ เครือข่ายเพื่อนเตือนภัยแห่งประเทศไทย หัวหน้าศูนย์ตรวจสอบและเฝ้าฟังการใช้ความถี่วิทยุจังหวัดภูเก็ต  วิทยากรจากกองทัพเรือภาคที่ 3 ภูเก็ต มาบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการเกิดภัยธรรมชาติและการปฏิบัติงานการแจ้งข่าวสารทางวิทยุที่ถูกวิธี  และมีประสิทธิภาพ  สำหรับวัตถุประสงค์ของการอบรมในครั้งนี้ เนื่องจากจังหวัดภูเก็ตเป็นพื้นที่เสี่ยงที่จะเกิดแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิและเมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้นระบบสื่อสารที่เป็นโทรศัพท์มือจะล่มไม่สามารถใช้งานได้ในขณะนั้นการประสานงานการช่วยเหลือต่างๆหยุดชะงักเนื่องจากไม่สามารถติดสื่อสารกับฝ่ายต่างๆได้ และระบบสื่อสารระบบเดียวที่ใช้งานได้ดีคือวิทยุมือถือ ทั้งประเภทเครื่องดำเครือข่ายราชการเครือข่ายนักวิทยุสมัครเล่น และเครือข่ายวิทยุภาคประชาชนเครื่องแดง245 แต่การเตือนภัยต่างๆขณะเกิดเหตุการณ์จริงหากไม่มีมีการฝึกซ้อมจัดระเบียบการแจ้งเหตุทางวิทยุสื่อสาร จะเกิดความสับสนวุ่นวายทางความถี่เนื่องจากมีผู้แจ้งเข้ามามากมายและข้อมูลที่ได้รับไม่ชัดเจน  การอบรมจัดให้มีการทำเวิร์คช๊อปร่วมกับทางศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ จำลองการเกิดเหตุขึ้นจริงๆโดยให้เครือข่ายวิทยุแต่ละพื้นที่รายงานเหตุการณ์และข้อมูลที่ชัดเจนและถูกต้องไปยังศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ
รูปภาพ : ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติจัดโครงการการสื่อสารเพื่อเฝ้าระวังและเตือนภัย …….          เมื่อวันที่ 23-24 มิถุนายน 2555 ที่ห้องประชุมเทศบาลตำบลกะรน อำเภอเมืองภูเก็ต ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กสทช. ศูนย์แจ้งเหตุดอนนก กอ.รมน.กองทัพเรือภาคที่ 3 ร่วมกับเครือข่ายเพื่อนเตือนภัยจังหวัดภูเก็ต ได้จัดอบรม  'โครงการการสื่อสารเพื่อเฝ้าระวังภัยและเตือนภัยพิบัติอบรมพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือภาคประชาชนผู้มีจิตอาสา เพื่อนเตือนภัยจังหวัดภูเก็ต' การอบรมมีขึ้นระหว่างวันที่ 23-24 มิถุนายน 2555 มีนายสมเกียรติ สังข์ขาวสุทธิรักษ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต เป็นประธานเปิดการอบรม โดยมีนายมนัส ทรงแสง  ประธานเครือข่ายเพื่อนเตือนภัยแห่งประเทศไทย ผู้แทนจากกระทรวงไอซีที กสทช. ผู้แทนจาก กอ.รมน.กองทัพเรือภาคที่ 3 ประธานศูนย์เพื่อนเตือนภัยจังหวัดภูเก็ต ตัวแทนจากบริษัท ทีโอทีจังหวัดภูเก็ต เทศบาลตำบลกะรน ศูนย์เฝ้าระวังภัยกมลา ชมรมวิทยุถลางสัมพันธ์ สมาคมนักวิทยุสมัครเล่นจังหวัดภูเก็ต ตลอดจนเครือข่ายนักวิทยุเครื่องแดง245เข้าร่วมการอบรม  โดยมีวิทยากรจากศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ เครือข่ายเพื่อนเตือนภัยแห่งประเทศไทย หัวหน้าศูนย์ตรวจสอบและเฝ้าฟังการใช้ความถี่วิทยุจังหวัดภูเก็ต  วิทยากรจากกองทัพเรือภาคที่ 3 ภูเก็ต มาบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการเกิดภัยธรรมชาติและการปฏิบัติงานการแจ้งข่าวสารทางวิทยุที่ถูกวิธี  และมีประสิทธิภาพ  สำหรับวัตถุประสงค์ของการอบรมในครั้งนี้ เนื่องจากจังหวัดภูเก็ตเป็นพื้นที่เสี่ยงที่จะเกิดแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิและเมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้นระบบสื่อสารที่เป็นโทรศัพท์มือจะล่มไม่สามารถใช้งานได้ในขณะนั้นการประสานงานการช่วยเหลือต่างๆหยุดชะงักเนื่องจากไม่สามารถติดสื่อสารกับฝ่ายต่างๆได้ และระบบสื่อสารระบบเดียวที่ใช้งานได้ดีคือวิทยุมือถือ ทั้งประเภทเครื่องดำเครือข่ายราชการเครือข่ายนักวิทยุสมัครเล่น และเครือข่ายวิทยุภาคประชาชนเครื่องแดง245 แต่การเตือนภัยต่างๆขณะเกิดเหตุการณ์จริงหากไม่มีมีการฝึกซ้อมจัดระเบียบการแจ้งเหตุทางวิทยุสื่อสาร จะเกิดความสับสนวุ่นวายทางความถี่เนื่องจากมีผู้แจ้งเข้ามามากมายและข้อมูลที่ได้รับไม่ชัดเจน  การอบรมจัดให้มีการทำเวิร์คช๊อปร่วมกับทางศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ จำลองการเกิดเหตุขึ้นจริงๆโดยให้เครือข่ายวิทยุแต่ละพื้นที่รายงานเหตุการณ์และข้อมูลที่ชัดเจนและถูกต้องไปยังศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติรูปภาพ : ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติจัดโครงการการสื่อสารเพื่อเฝ้าระวังและเตือนภัย …….          เมื่อวันที่ 23-24 มิถุนายน 2555 ที่ห้องประชุมเทศบาลตำบลกะรน อำเภอเมืองภูเก็ต ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กสทช. ศูนย์แจ้งเหตุดอนนก กอ.รมน.กองทัพเรือภาคที่ 3 ร่วมกับเครือข่ายเพื่อนเตือนภัยจังหวัดภูเก็ต ได้จัดอบรม  'โครงการการสื่อสารเพื่อเฝ้าระวังภัยและเตือนภัยพิบัติอบรมพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือภาคประชาชนผู้มีจิตอาสา เพื่อนเตือนภัยจังหวัดภูเก็ต' การอบรมมีขึ้นระหว่างวันที่ 23-24 มิถุนายน 2555 มีนายสมเกียรติ สังข์ขาวสุทธิรักษ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต เป็นประธานเปิดการอบรม โดยมีนายมนัส ทรงแสง  ประธานเครือข่ายเพื่อนเตือนภัยแห่งประเทศไทย ผู้แทนจากกระทรวงไอซีที กสทช. ผู้แทนจาก กอ.รมน.กองทัพเรือภาคที่ 3 ประธานศูนย์เพื่อนเตือนภัยจังหวัดภูเก็ต ตัวแทนจากบริษัท ทีโอทีจังหวัดภูเก็ต เทศบาลตำบลกะรน ศูนย์เฝ้าระวังภัยกมลา ชมรมวิทยุถลางสัมพันธ์ สมาคมนักวิทยุสมัครเล่นจังหวัดภูเก็ต ตลอดจนเครือข่ายนักวิทยุเครื่องแดง245เข้าร่วมการอบรม  โดยมีวิทยากรจากศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ เครือข่ายเพื่อนเตือนภัยแห่งประเทศไทย หัวหน้าศูนย์ตรวจสอบและเฝ้าฟังการใช้ความถี่วิทยุจังหวัดภูเก็ต  วิทยากรจากกองทัพเรือภาคที่ 3 ภูเก็ต มาบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการเกิดภัยธรรมชาติและการปฏิบัติงานการแจ้งข่าวสารทางวิทยุที่ถูกวิธี  และมีประสิทธิภาพ  สำหรับวัตถุประสงค์ของการอบรมในครั้งนี้ เนื่องจากจังหวัดภูเก็ตเป็นพื้นที่เสี่ยงที่จะเกิดแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิและเมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้นระบบสื่อสารที่เป็นโทรศัพท์มือจะล่มไม่สามารถใช้งานได้ในขณะนั้นการประสานงานการช่วยเหลือต่างๆหยุดชะงักเนื่องจากไม่สามารถติดสื่อสารกับฝ่ายต่างๆได้ และระบบสื่อสารระบบเดียวที่ใช้งานได้ดีคือวิทยุมือถือ ทั้งประเภทเครื่องดำเครือข่ายราชการเครือข่ายนักวิทยุสมัครเล่น และเครือข่ายวิทยุภาคประชาชนเครื่องแดง245 แต่การเตือนภัยต่างๆขณะเกิดเหตุการณ์จริงหากไม่มีมีการฝึกซ้อมจัดระเบียบการแจ้งเหตุทางวิทยุสื่อสาร จะเกิดความสับสนวุ่นวายทางความถี่เนื่องจากมีผู้แจ้งเข้ามามากมายและข้อมูลที่ได้รับไม่ชัดเจน  การอบรมจัดให้มีการทำเวิร์คช๊อปร่วมกับทางศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ จำลองการเกิดเหตุขึ้นจริงๆโดยให้เครือข่ายวิทยุแต่ละพื้นที่รายงานเหตุการณ์และข้อมูลที่ชัดเจนและถูกต้องไปยังศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติรูปภาพ : ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติจัดโครงการการสื่อสารเพื่อเฝ้าระวังและเตือนภัย …….          เมื่อวันที่ 23-24 มิถุนายน 2555 ที่ห้องประชุมเทศบาลตำบลกะรน อำเภอเมืองภูเก็ต ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กสทช. ศูนย์แจ้งเหตุดอนนก กอ.รมน.กองทัพเรือภาคที่ 3 ร่วมกับเครือข่ายเพื่อนเตือนภัยจังหวัดภูเก็ต ได้จัดอบรม  'โครงการการสื่อสารเพื่อเฝ้าระวังภัยและเตือนภัยพิบัติอบรมพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือภาคประชาชนผู้มีจิตอาสา เพื่อนเตือนภัยจังหวัดภูเก็ต' การอบรมมีขึ้นระหว่างวันที่ 23-24 มิถุนายน 2555 มีนายสมเกียรติ สังข์ขาวสุทธิรักษ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต เป็นประธานเปิดการอบรม โดยมีนายมนัส ทรงแสง  ประธานเครือข่ายเพื่อนเตือนภัยแห่งประเทศไทย ผู้แทนจากกระทรวงไอซีที กสทช. ผู้แทนจาก กอ.รมน.กองทัพเรือภาคที่ 3 ประธานศูนย์เพื่อนเตือนภัยจังหวัดภูเก็ต ตัวแทนจากบริษัท ทีโอทีจังหวัดภูเก็ต เทศบาลตำบลกะรน ศูนย์เฝ้าระวังภัยกมลา ชมรมวิทยุถลางสัมพันธ์ สมาคมนักวิทยุสมัครเล่นจังหวัดภูเก็ต ตลอดจนเครือข่ายนักวิทยุเครื่องแดง245เข้าร่วมการอบรม  โดยมีวิทยากรจากศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ เครือข่ายเพื่อนเตือนภัยแห่งประเทศไทย หัวหน้าศูนย์ตรวจสอบและเฝ้าฟังการใช้ความถี่วิทยุจังหวัดภูเก็ต  วิทยากรจากกองทัพเรือภาคที่ 3 ภูเก็ต มาบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการเกิดภัยธรรมชาติและการปฏิบัติงานการแจ้งข่าวสารทางวิทยุที่ถูกวิธี  และมีประสิทธิภาพ  สำหรับวัตถุประสงค์ของการอบรมในครั้งนี้ เนื่องจากจังหวัดภูเก็ตเป็นพื้นที่เสี่ยงที่จะเกิดแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิและเมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้นระบบสื่อสารที่เป็นโทรศัพท์มือจะล่มไม่สามารถใช้งานได้ในขณะนั้นการประสานงานการช่วยเหลือต่างๆหยุดชะงักเนื่องจากไม่สามารถติดสื่อสารกับฝ่ายต่างๆได้ และระบบสื่อสารระบบเดียวที่ใช้งานได้ดีคือวิทยุมือถือ ทั้งประเภทเครื่องดำเครือข่ายราชการเครือข่ายนักวิทยุสมัครเล่น และเครือข่ายวิทยุภาคประชาชนเครื่องแดง245 แต่การเตือนภัยต่างๆขณะเกิดเหตุการณ์จริงหากไม่มีมีการฝึกซ้อมจัดระเบียบการแจ้งเหตุทางวิทยุสื่อสาร จะเกิดความสับสนวุ่นวายทางความถี่เนื่องจากมีผู้แจ้งเข้ามามากมายและข้อมูลที่ได้รับไม่ชัดเจน  การอบรมจัดให้มีการทำเวิร์คช๊อปร่วมกับทางศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ จำลองการเกิดเหตุขึ้นจริงๆโดยให้เครือข่ายวิทยุแต่ละพื้นที่รายงานเหตุการณ์และข้อมูลที่ชัดเจนและถูกต้องไปยังศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ
กทม.-ไทยตอนบนมีฝนร้อยละ 60-70 เตือน 8 จว.อีสานระวังน้ำท่วม


วันที่ 17 มิ.ย. กรมอุตุนิยมวิทยา รายงานลักษณะอากาศทั่วไปเมื ่อเวลา 04.00 น. ร่องมรสุมพาดผ่านภาคเหนือตอ นบนและภาคตะวันออกเฉียงตอนบ น เข้าสู่หย่อมความกดอากาศต่ำ กำลังแรงในทะเลจีนใต้ตอนบน ทำให้บริเวณภาคเหนือและภาคต ะวันออกเฉียงเหนือมีฝนฟ้าคะ นองกระจายถึงเกือบทั่วไปและ มีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ ง โดยเฉพาะบริเวณจังหวัดหนองค าย บึงกาฬ สกลนคร นครพนม ม...ดูเพิ่มเติม

กรมอุตุนิยมวิทยา เปิดเผยแผ่นดินไหวขนาด 6.0 ริกเตอร์ที่ประเทศฟิลิปปินส ์ ไม่มีผลกระทบต่อไทย

กรมอุตุนิยมวิทยา โดยสำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไห ว รายงานว่า ตรวจพบแผ่นดินไหว เมื่อเวลา 08.41 น. วันนี้( 15 มิถุนายน 2555) ที่บริเวณ Mindanao ประเทศฟิลิปปินส์ (5.71N,126.56E) ขนาด 6.0 ริกเตอร์ ไม่มีผลกระทบต่อประเทศไทย

รูปภาพ : ปภ. รายงานมี 4 จังหวัดยังประสบอุทกภัย ส่วน 16 จังหวัดเผชิญน้ำป่าไหลหลากและน้ำล้นตลิ่ง     	 	  กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ระบุ 4 จังหวัดสุราษฎร์ธานี สุโขทัย พิษณุโลก และอำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร ยังประสบอุทกภัย และในอีก 16 จังหวัด ต้องเผชิญน้ำป่าไหลหลากและน้ำล้นตลิ่ง  กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รายงานสถานการณ์น้ำป่าไหลหลาก และน้ำล้นตลิ่ง ตั้งแต่วันที่ 2 มิถุนายน ถึงปัจจุบัน จากอิทธิพลของร่องมรสุมพาดผ่านภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย รวมทั้งสิ้น 16 จังหวัด 54 อำเภอ 217 ตำบล 1,153 หมู่บ้าน อาทิ จังหวัดแม่ฮ่องสอน แพร่ สุโขทัย พิษณุโลก ปราจีนบุรี จันทบุรี ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พังงา และจังหวัดชัยนาท โดยเบื้องต้น ราษฎรเดือดร้อน 44,220 ครัวเรือน จำนวน 149,618 คน เสียชีวิต 1 ราย บ้านเรือนเสียหายบางส่วน 71 หลัง ถนนเสียหาย 481 สาย พื้นที่การเกษตรเสียหาย 61,153 ไร่ ยังคงมีพื้นที่ประสบอุทกภัย 3 จังหวัด 11 อำเภอ 51 ตำบล 242 หมู่บ้าน ได้แก่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี สุโขทัย และจังหวัดพิษณุโลก โดยล่าสุดเช้าวันนี้(15 มิ.ย.) แม่น้ำยมได้ล้นตลิ่งเข้าท่วมบ้านเรือนใน อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร  อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันคงเหลือพื้นที่ประสบภัยแล้ง 8 จังหวัด 62 อำเภอ ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ สุรินทร์ นครราชสีมา ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี สระบุรี สระแก้ว และจังหวัดนครนายก

ปภ. รายงานมี 4 จังหวัดยังประสบอุทกภัย ส่วน 16 จังหวัดเผชิญน้ำป่าไหลหลากและน้ำล้นตลิ่ง


กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ระบุ 4 จังหวัดสุราษฎร์ธานี สุโขทัย พิษณุโลก และอำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร ยังประสบอุทกภัย และในอีก 16 จังหวัด ต้องเผชิญ...ดูเพิ่มเติม

· 

ผู้ว่าฯ สุโขทัย ประกาศพื้นที่ภัยพิบัติน้ำท่วม 2 อำเภอ

ผู้ว่าฯ สุโขทัย ประกาศพื้นที่ภัยพิบัติ 2 อำเภอแล้ว น้ำท่วม-พนังดินถล่ม ต้องอพยพประชาชนกว่า 100 คน ไปอยู่จุดปลอดภัย

นายจักริน เปลี่ยนวงษ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย ประกาศภัยพิบัติอุทกภัย 2 อำเภอ คืออ.เมืองสุโขทัย ได้รับผลกระทบ 3 ตำบล 11 หมู่บ้าน และ อ.กงไกรลาศ 6 ตำบล 36 หมู่บ้าน ซึ่งได้รับผลกระทบจากปริมาณน้ำที่ลดลงของ อ.ลอง และ อ.วังชิ้น จ.แพร่ ส่งผลให้แม่น้ำยมล้นตลิ่ง และกัดเซาะพนังกั้นน้ำหลายจุดตั้งแต่พนังกั้นน้ำ ต.ปากแคว น้ำเริ่มเข้าท่วมถนนจรดวิถีถ่อง ทางหลวงหมายเลข 101 ท่วมถนนสูง 30 เซนติเมตร ระยะทาง 500 เมตร และได้รับผลกระทบอย่างหนัก คือ หมู่ 5 บ้านวังโพธิ์ ต.ยางซ้าย และ หมู่ 2 บ้านลัดทรายมูล ต.ลัดทรายมูล ต.ปากพระ อ.เมืองสุโขทัย ต้องเร่งอพยพชาวบ้าน กว่า 20 ครอบครัว เกือบ 100 คนขึ้นมาพักอาศัยชั่วคราวที่เต็นท์ที่ทางจังหวัดจัดไว้ เนื่องจากพนังดินกั้นน้ำที่ถูกกัดเซาะมาตั้งแต่ปีที่แล้ว อยู่ในสภาพที่ไม่สามารถรับน้ำได้น้ำที่เอ่อล้น จึงไหลเข้าท่วมอย่างรวดเร็ว และระบายลงพื้นที่ทางการเกษตรอย่างต่อเนื่องเป็นวงกว้าง

จ.สุโขทัย น้ำท่วมล่าสุด 12 มิ.ย 55

 

นายจักริน เปลี่ยนวงษ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย พร้อมคณะ
จนท.ที่เกี่ยวข้องเดิน
ทางขึ้นเฮลิคอปเตอร์ ตรวจพื้นที่สภาพน้ำท่วมทางอากาศ
โดยตรวจสอบพบว่า ยังคงมีปริมาณน้ำเต็มฝั่งตลอดสายของลำน้ำยมที่
ไหลผ่านจังหวัดสุโขทัย และ
เริ่มแพร่กระจายขยายเป็นวงกว้างในพื้นที่ของ อ.เมือง และ อ.กงไกรลาศ โดยส่วนใหญ่ขยายเป็นวงกว้างเข้าสู่บริเวณที่เป็นไร่นาพื้นที่ทาง
การเกษตรและบ้านเรือนราษฏรบางส่วนระดับน้ำท่วมพื้นที่ยังไม่ลดลง

 

 

สถานการณ์น้ำท่วมหลายจังหวัดในพื้นที่ภาคใต้ ยังคงวิกฤติ 
หลังยังคงมีฝนตกต่อเนื่อง 
โดยเฉพาะที่จังหวัดชุมพร น้ำท่วมขยายวงกว้างมากขึ้น

             น้ำป่ายังคงไหลหลาก เข้าท่วมพื้นที่ต่างๆ ในจังหวัดชุมพร ขยายวงกว้าง และ รุนแรงมากขึ้น
เนื่องจากยังคงมีฝนตกลงมาอย่างหนักตลอดเวลา ขณะนี้มีน้ำท่วมแล้ว 5 อำเภอ บ้านราษฎรเสีย
หาย5,700 ครัวเรือน../ด้านนายพินิจ เจริญพานิช ผู้ว่าราชการจังหวัด ได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่ทุกหน่วย 
เตรียมพร้อมอพยพชาวบ้านในพื้นที่เสี่ยงภัยให้ทันท่วงที

             ขณะที่ บริเวณถนนสายเอเซีย 41 ช่วงสามแยกหนองพรหม อำเภอสวี ระดับน้ำเริ่มเพิ่มขึ้น 
เส้นทางขาขึ้น รถเล็กควรใช้ความระมัดระวัง เนื่องจากระดับน้ำแรง และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ  ส่วนขาลง 
การจราจรเริ่มติดขัด .

             ส่วนที่จังหวัดระนอง น้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมอำเภอกะเปอร์ ในพื้นที่ 2 ตำบล 6 หมู่บ้าน
  บ้านเรือนประชาชน ถูกน้ำท่วม ได้รับความเดือดร้อนกว่า 100 ครัวเรือน และคอสะพานเข้าหมู่บ้าน
ได้รับความเสียหายจำนวน 3 แห่ง ../ สรุปสถานการณ์น้ำท่วมจังหวัดระนอง ขณะนี้ มีอำเภอกระบุรี 
/อำเภอละอุ่น และ อำเภอกะเปอร์ ขณะที่ยังคงมีฝนตกอย่างต่อเนื่อง.

            ส่วนที่จังหวัดพังงา หลังจากฝนตกลงมาตลอดเวลา ทำให้ในหลายพื้นที่ มีน้ำท่วมขัง 
โดยเฉพาะอำเภอคุระบุรี เจ้าหน้าที่ ได้นำเรือท้องแบนจำนวน 5 ลำ เพื่อออกช่วยเหลือชาวบ้านที่
ถูกน้ำท่วมขัง จำนวนไม่ต่ำกว่า 50 ครัวเรือน พร้อมออกคำเตือน ห้ามเรือเล็กออกจากฝั่ง.

            ขณะที่ กรมอุตุนิยมวิทยา เตือนประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย ตามที่ลาดเชิงเขาใกล้ทางน้ำ
ไหลผ่านบริเวณจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี ระนอง พังงา กระบี่ และ ตรัง ระวังอันตรายจากสภาวะ
น้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลากในระยะนี้.

 

นายกเหล่ากาชาดจังหวัดนครศรีธรรมราช เยี่ยม และให้กำลังใจครอบครัวผู้เสียชีวิตจากน้ำป่าพัดหายไป ที่น้ำตกท่าหา อำเภอลานสกา

นายกเหล่ากาชาดจังหวัดนครศรีธรรมราช เยี่ยมและให้กำลังใจครอบครัวผู้เสียชีวิตจากน้ำป่าพัดหายไป ที่น้ำตกท่าหา อำเภอลานสกา
นางวณี จิวะรังสรรค์ นายกเหล่ากาชาดจังหวัดนครศรีธรรมราช พร้อมด้วยคณะเหล่ากาชาดจังหวัด และนายอำเภอท่าศาลา ลงพื้นที่เยี่ยม และให้กำลังใจแก่ครอบครัวผู้เสียชีวิตจากน้ำป่าพัดหายไปที่เสียชีวิต บริเวณน้ำตกท่าหา ตำบลกำโลน อำเภอลานสกา เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคมที่ผ่านมา พร้อมนำเงินช่วยเหลือจำนวนหนึ่งมอบให้แก่ นางกิตติมา มูลทองชุนภรรยาและมารดาของผู้เสียชีวิต ที่บ้านญาติ เลขที่ 11 หมู่ 7 ตำบลไทรบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งนั่งเฝ้าศพลูกชายสุดท้องวัย 4 ขวบ ชื่อ ด.ช.กิตติกร แก้วประดับ เพิ่งค้นพบศพเมื่อช่วงเช้าของวันนี้ ในขณะที่บริเวณข้างบ้านญาติได้ตั้งหีบศพ 3 หีบ คือ หีบศพนายดำรงค์ แก้วประดับ อายุ 35 ปี และ เด็กชายกิตติวิน แก้วประดับ อายุ 7 ขวบ ส่วนอีก 1 หีบ สำหรับรอใส่ศพของ ด.ช.กิตติกร แก้วประดับ เพื่อเตรียมตั้งบำเพ็ญกุศลศพต่อไป
ก่อนเกิดเหตุทราบว่านายดำรง ผู้ตาย พาภรรยาและลูกอีก 2 คน รวมเป็น 4 คน เดินทางจากกรุงเทพมหานครมาเยี่ยมญาติที่ อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 4 พ.ค.ที่ผ่านมา และถือโอกาสพาลูกชายทั้งสองคนไปเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวคีรีวง ตำบลกำโลน อำเภอลานสกา และชวนกันลงเล่นน้ำที่น้ำตกท่าหา แต่เกิดมีฝนตกหนักตั้งแต่ 09.00 น.จนถึงเวลา 12.00 น. นายดำรงค์ และลูกๆ ไม่สามารถลงไปเล่นน้ำได้ และหลังจากฝนหยุดตกทั้ง 3 คนได้ชวนกันลงไปเล่นน้ำอย่างสนุกสนาน จนก่อนเกิดเหตุเพียงไม่ถึง 1 ชั่วโมงฝนก็ตกกระหน่ำหนักลงมาอีกระลอก และเกิดน้ำป่าก้อนใหญ่มหึมาไหลทะลักลงมาอย่างรวดเร็วพัดพาเอาร่างของสามพ่อลูกจมหายไปกับสายน้ำ ก่อนจะมาพบว่าเสียชีวิตดังกล่าว


ผู้สื่อข่าว : นครศรีธรรมราช
วันที่ข่าว : 07 พฤษภาคม 2555
ไอเอ็มเอฟ ชมไทยฟื้นเศรษฐกิจหลังน้ำท่ วมได้เร็วคาดขยายตัวในปีนี้  5.5% เตือนยังมีความเสี่ยงจากเศร ษฐกิจโลกและมาตรการรับมือน้ ำท่วม แนะรัฐบาลเลิกลดหย่อนภาษีลด ภาระการคลัง และควบคุมความเสี่ยงแบงก์เฉ พาะกิจรัฐ*

ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) แจ้งว่า กองทุนการเงินระหว่างประเทศ  (ไอเอ็มเอฟ) ได้สรุปทบทวนภาวะเศรษฐกิจไท ยประจำปี 2555 โดยมีความเห็นว่า การดำเนินนโยบายต่าง ๆ ของหน่วยงานภาครัฐของไทย ช่วยให้เศรษฐกิจไทยฟื้นตัวจากอุทกภัยได้อย่างรวด เร็ว และคาดว่าจะขยายตัวได้ร้อยล ะ 5.5 และ 7.5 ในปี 2555 และ 2556 ตามลำดับ เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มที่ดีใ นระยะสั้น แต่ยังคงมีปัจจัยเสี่ยงจากค วามไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลก  และความคืบหน้าของมาตรการป้ องกันอุทกภัย ขณะที่นโยบายการเงินและการค ลังแบบผ่อนคลายมีความเหมาะส มในภาวะปัจจุบัน

อย่างไรก็ตาม ภาครัฐควรทยอยปรับลดมาตรการ กระตุ้นต่าง ๆ เมื่อเศรษฐกิจฟื้นตัวและเข้ าสู่ภาวะปกติ และมุ่งสู่เป้าหมายกรอบความ ยั่งยืนทางการคลังในระยะปาน กลาง ความท้าทายสำคัญในระยะข้างห น้า คือการเร่งฟื้นฟูประเทศภายห ลังอุทกภัย ในขณะที่ต้องดูแลรักษาเสถีย รภาพทางเศรษฐกิจ และสนับสนุนการเติบโตของเศร ษฐกิจที่ทั่วถึง (inclusive growth) ..ดูเพิ่มเติม

ผู้ว่าฯ อยุธยา เชื่อมั่น

จะสามารถบริหารจัดการน้ำช่วยเหลือเกษตรกรในช่วงฤดูการทำนาได้ ทั้งปัจจุบันและอนาคต โดยเฉพาะการลดความเสี่ยงต่อปัญหาพืชผลทางการเกษตร


ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เชื่อมั่น จะสามารถบริหารจัดการน้ำช่วยเหลือเกษต...ดูเพิ่มเติม

 

กสทช. ตั้ง กก.รับมือแผ่นดินไหว ดึงทีวี-มือถือแจ้งข่าวเตือนภัย


วันนี้( 24 เม.ย.2555) กสทช.ตั้งคณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยแผ่นดินไหว ดึงทีวี-มือถือแจ้งข่าวเตือนภัยประชาชนใน 5-10 นาที

นายฐากร ตัณฑสิทธิ์ เลขาธิการคณะกรรมการกิจการกระจายเ...ดูเพิ่มเติม

 
ปภ.ประกาศยุติพื้นที่ภัยแล้ งกรณีฉุกเฉิน 4 จังหวัด จากทั้งหมด 51 จังหวัด และทั่วทุกภาคจะมีฝนเพิ่มมา กขึ้นใช่วงวันที่ 16-19 พฤษภาคมนี้ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภ ัย ประกาศยุติพื้นที่ภัยแล้งกร ณีฉุกเฉิน 4 จังหวัด จากทั้งหมด 51 จังหวัด และทั่วทุกภาคจะมีฝนเพิ่มมา กขึ้นใช่วงวันที่ 16-19 พฤษภาคมนี้ นายวิบูลย์ สงวพงศ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาส าธารณภัย เปิดเผยสถานการณ์ภัยแล้ง ว่า ขณะนี้ประ กาศยุติเป็นพื้นที่ภัยพิบัต ิกรณีฉุกเฉินภัยแล้งแล้ว 4 จังหวัด จากทั้งหมด 51 จังหวัด ทำให้ยังเหลือพื้นที่ภัยแล้ งอีก 47 จังหวัด โดยมีระดับความรุนแรง 20 จังหวัด มีพื้นที่ประสบภัยแล้งทุกหม ู่บ้าน 2 จังหวัด คือ จังหวัดมุกดาหารและจังหวัดเ ลย ส่วนสภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขน าดใหญ่ทั่วประเทศ มีปริมาตรน้ำรวม 38,011 ล้าน ลบ.ม. หรือ ร้อยละ 54 มากกว่าปี 2554 จำนวน 663 ล้าน ลบ.ม. ทั้งนี้ กรมอุตุนิยมวิทยา รายงานพยากรณ์อากาศเมื่อเวล า 06.00 น.วันนี้(15 พ) ว่า จะมีฝนฟ้าคะนองเป็นแห่งๆ ถึงกระจาย และทั่วทุกภาคของประเทศจะมี ฝนเพิ่มมากขึ้นในช่วงวันที่  16-19 พฤษภาคม กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภ ัย ได้สั่งการให้จังหวัดต่าง ๆ เตรียมการป้องกันและแก้ไขปั ญหาอุทกภัย วาตภัย ดินถล่มและคลื่นลมแรง อันเกิดจากสภาวะฝนตกหนัก ลมกระโชกแรงและคลื่นลมในทะเ ลมีกำลังแรง โดยแจ้งให้ศูนย์ป้องกันและบ รรเทาสาธารณภัยทุกเขตครอบคล ุมพื้นที่ทั่วประเทศ เตรียมรับสถานการณ์ และให้ความเหลือประชาชนที่ไ ด้รับความเดือดร้อนได้อย่าง ทันท่วงที
 
ลำปาง 10 พ.ค.- ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจป้องก ันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม จังหวัดลำปาง ได้สรุปพื้นที่สถานการณ์น้ำ ป่าไหลหลาก และน้ำท่วมฉับพลัน หลังจากเกิดฝนตกหนัก เมื่อวันที่ 5-7 พฤษภาคม 2555 ที่ผ่านมาว่า พื้นที่ที่เกิดฝนตกหนัก ในได้แก่ เขตเทศบาลนครลำปาง เขตเทศบาลเมืองเขลางค์นครแล ะเทศบาลตำบลพิชัย อ.เมือง ที่เกิดน้ำฝนตกหนัก และน้ำป่าไหลหลากลงมาท่วมถน นสายสำคัญ จึงกระทบต่อการใช้เส้นทาง บางจุดรถผ่านไปไม่ได้ ซึ่งไม่มีสิ่งสาธารณะประโยช น์ของทางราชการเสียหาย แต่มีบ้านเรือนในชุมชนทองปร ะเสริฐ ต.ชมพู เทศบาลนครลำปาง ได้รับความเดือดร้อน จากน้ำท่วมขังบางส่วน ทางเทศบาลได้ใช้เครื่องสูบน ้ำเข้าช่วยดูดน้ำออกจนกลับเ ข้าสู่ภาวะปกติ สำหรับพื้นที่องค์การบริหาร ส่วนตำบลบ้านเอื้อม อ.เมือง จ.ลำปาง เกิดน้ำป่าหลากมาจากยอดเขาส ูง ทำให้บ้านเรือนของนายสุข ตาฝาย อายุ 74 ปี อยู่บ้านเลขที่ 1/ 1 บ้านสัก ในหมู่บ้านสัก ม.3 ต.บ้านเอื้อมพังล้มลงมาทั้งหลั ง จำนวน 1 หลัง จากนั้น นายธวัชชัย เทอดเผ่าไทย ผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง ได้อนุมัติงบทดลองราชการ เพื่อบรรเทาภัยพิบัติ เตรียมจ่ายเงินช่วยเหลือบ้า นพังทั้งหลัง และเครื่องใช้ภายในบ้านที่พ ังเสียหาย รวมเป็นเงินกว่า 40,000 บาท แบ่งเป็นเงินตามระเบียบบ้าน พัง 30,000 บาท และเงินช่วยเหลือเครื่องใช้ ภายในบ้านอีกกว่า 10,000 บาท และในพื้นที่ ต.บ้านเอื้อม และขณะนี้ทางจังหวัดลำปาง ได้ประกาศให้เป็นเขตพื้นที่ ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน เนื่องจากเกิดน้ำป่าไหลหลาก  และน้ำท่วมฉับพลันแล้ว
 
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จัดฝึกซ้อมการเตือนภัย การอพยพ และเผชิญเหตุสึนามิขนาดรุนแรงในพื้นที่ 6 จังหวัดชายฝั่งทะเลอันดามัน


กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ฝึกซ้อมการเตือนภัย การอพยพ และเผชิญเหตุสึนามิขนาดรุนแรงในพื้นที่ 6 จังหวัดชายฝั่งทะเลอันดามัน เสริมศักยภาพการปฏิบัติงานรองรับภัยสึนามิ -
พล.ต.ท.ฉลอง สนใจ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงมหาดไทย เป็นประธานการประชุมเชิงปฏิบัติการและการฝึกซ้อมการเตือนภัย การอพยพ และเผชิญเหตุคลื่นสึนามิขนาดรุนแรงใน 6 จังหวัดชายฝั่งทะเลอันดามัน ว่า เมื่อปี พ.ศ. 2547 จังหวัดพังงา ระนอง ภูเก็ต กระบี่ ตรังและสตูล ได้รับความเสียหายทั้งชีวิตและ ..ดูเพิ่มเติม
 
 

ข่าวภัยแล้งปรากฏบนหน้าหนัง สือพิมพ์รายวันเกือบทุกฉบับ  ทั้งที่อุทกภัยเพิ่งจะผ่านพ้นไปเพียง ๕/๖ เดือนที่ผ่านมานี้เอง 



ที่นครสวรรค์ นายหรรณพ พุกจันทร์ รักษาการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยน ครสวรรค์ เปิดเผยว่า หลังฝนทิ้งช่วงหลายเดือน ทำให้สถานการณ์ภัยแล้งเริ่ม เข้าสู่ความรุนแรงในหลายอำเ ภอ โดยจังหวัดประกาศพื้นที่ภัย แล้วแล้ว ๕ อำเภอ คือ อำเภอ เมือง ตากฟ้า หนองบัว ไพศาลี และลาดยาว มีพื้นที่ภัยแล้ง ๒๗ ตำบล ๒๓๐ หมู่บ้าน ราษฎรจำนวน ๖,๒๖๐ ครัวเรือน ๒๑,๔๗๑ คน เดือดร้อน หากฝนยังตกทิ้งช่วงต่อไป ต้องประกาศพื้นที่ภัยแล้งเพ ิ่มขึ้นอีกหลายอำเภอ 

นายสุบิน รอดทิม รองนายกองค์การบริหารส่วนตำ บลพนมเศษ อำเภอ ท่าตะโก นครสวรรค์ กล่าวว่า จากสถานการณ์ภัยแล้งใน ๑๑ หมู่บ้าน ทำให้ลำห้วยและคลองต่างๆแห้ งขอด ไม่มีน้ำอุปโภคบริโภค ต้องนำรถบรรทุกน้ำ ไปรับน้ำที่ ต.ทับกฤช อำเภอ ชุมแสง ซึ่งอยู่ห่าง ๕๐ กิโลเมตร เพื่อนำน้ำมาแจกจ่ายชาวบ้าน ทุกวัน แต่ละวันแจกน้ำได้เพียง ๓-๔ เที่ยว หรือวันละ ๒๑,๐๐๐-๒๘,๐๐๐ ลิตร เท่านั้น เนื่องจากเสียเวลาเดินทาง

มีรายงานว่าพื้นที่ที่ประสบ ภัยแล้งรุนแรงเช่น ลาดยาว แม่เปิน ชุมตาบง แม่เลย์ และอำเภอ แม่วงก์ ทำให้ชาวบ้านหลายหมู่บ้านไม ่มีน้ำอุปโภคบริโภค ต้องซื้อน้ำกินน้ำใช้ และน้ำให้สัตว์เลี้ยงจากรถต ะเวนขายน้ำเที่ยวละ ๓๐๐-๕๐๐ บาท

สภาพแม่น้ำเจ้าพระยาช่วงบริ เวณหน้าศาลากลางจังหวัดนครส วรรค์ มีสภาพแห้งจนเห็นเนินทราย บางช่วงสามารถเดินข้ามได้ ส่งผลต่อแพร้านอาหารในแม่น้ ำเจ้าพระยาต้องเกยตื้น รวมทั้งเรือ แพ ที่ล่องตามแม่น้ำเจ้าพระยา ไม่สามารถล่องเรือให้บริการ นักท่องเที่ยวได้

ที่อุทยานแห่งชาติภูหินร่อง กล้า จากสภาพอากาศร้อนจัด ส่งผลให้น้ำที่กักเก็บในอุท ยานแห่งชาติแห่งนี้มีสภาพแห ้งขอด น้ำจากลำน้ำสาขาก็แห้งขอด ไม่มีน้ำจากซับต่างๆไหลลงอ่ าง ทำให้น้ำที่อุทยานที่เก็บน้ ำไว้ตามแท้งค์ต่างๆขนาด ๕๐,๐๐๐ ลิตร กระจายตามจุดต่างๆแห้งขอด ทำให้น้ำใช้ตามห้องสุขา ละบ้านพักหมดลงอย่างรวดเร็ว

“อุทยานขาดแคลนน้ำอย่างหนัก  น้ำที่ใช้อุปโภคบริโภค อุทยานฯและร้านอาหารต้องสั่ งซื้อจากอำเภอให้นำน้ำมาส่ง วันเว้นวัน สร้างความลำบากให้เจ้าหน้าท ี่และร้านค้า ตลอดจนนักท่องเที่ยวอย่างมา ก อุทยานฯจำเป็นต้องประสานกรม าอุทยานฯเพื่อแจ้งงดการบริก ารบ้านพัก เนื่องจากไม่มีน้ำอุปโภคบริ โภค “ นายครรชิต ตันตระวาณิชย์ ผู้ช่วยหัวหน้าอุทยานแห่งชา ติภูหินร่องกล้ากล่าว

ภัยแล้งไม่ได้จำกัดวงอยู่ที ่นครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก หากแต่ ภาคเหนือตอนบน ภาคกลาง ภาคอีสานทั้งภาค ต่างก็ประสบภัยแล้งทั้งสิ้น

ทั้งที่น้ำเพิ่งจะท่วมมาไม่ กี่เดือนนี้

ทั้งที่การจ่ายเงินเยียวยาป ระชาชนทั้งหลายที่ประสบอุทก ภัยยังไม่แล้วเสร็จ

ทั้งที่นิคมอุตสาหกรรมหลายแ ห่งที่พระนครศรีอยุธยา กำลังเร่งสร้างเขื่อนป้องกั นน้ำท่วม

และทั้งที่รัฐบาลนางสาวยิ่ง ลักษณ์ ชินวัตร กำลังสนุกสานกับการใช้งบประ มาณ ทำฟลัดเวย์

นี่มันอะไรกัน ?

ปรากฏการณ์เช่นนี้ บอกให้รู้ว่าการแก้ปัญหาของ รัฐบาล (ไม่แต่เฉพาะรัฐบาลนางสาวยิ ่งลักษณ์หรอกครับ) ทำกันอย่างสะเปะสะปะ ไม่มีแผนการ โดยเฉพาะปัญหาน้ำ

ฤดูฝน เราก็จะประสบปัญหาอุทกภัย ฝนผ่านไป อุทกภัยผ่านไป เราก็จะได้ยินได้ฟังประชาชน โอดครวญปัญหาภัยแล้ง แล้งซ้ำซาก ทั้งที่ก่อนที่จะเกิดภัยแล้ งนั้น เกิดอุทกภัยมาก่อน น้ำท่วม น้ำหลากมาก่อน

เราปล่อยให้น้ำจากแม่น้ำไหล ลงทะเล ไปง่าย โดยที่ไม่กักเก็บไว้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีงบป ระมาณขุดลอกคูคลอง ขุดสระ แต่ก็เป็นโครงการที่เพียงแต ่จะใช้งบประมาณแห่งละ ๓-๔ หมื่นบาท พอให้ได้ชื่อว่า ขุดสระ แต่ไม่มีน้ำ เพราะไม่ได้ขุดจริงๆจังๆ ให้เป็นที่กักเก็บน้ำ แต่ขุดเพียงเพื่อที่จะได้เบ ิกงบประมาณ

ไม่เชื่อก็ไปดูสระน้ำต่างๆต ามหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัดต่างๆที่กระทรวงเกษต รใช้งบประมาณนี้ดูเถอะครับ

สมัยก่อนคลองที่คนรุนเก่าเข าทำให้เห็นคือ คลองรังสิต ๑ ๒ ๓ เรื่อยไปตามถนนกรุงเทพฯ-นคร นายก มีให้เห็นเป็นตัวอย่างมาแล้ วว่า เขาบริหารจัดการกับน้ำ อย่างไร เอาน้ำมาใช้เพื่อการเกษตร การคมนาคม อย่างไร แต่คนรุ่นเรากลับละเลย ไม่เอาอย่าง ทั้งที่สมัยก่อนโน้นการขุดค ู คลองต่างล้วนแต่ใช้แรงงาน ใช้กุลี ทั้งสิ้น ทุกวันนี้มีเครื่องจักรกลต่ างๆ ที่จะทำให้การขุดคู คลอง หรือสระน้ำ ง่ายดายขึ้น แต่กลับไม่ทำ

ทั้งที่ถ้าหากลงมือทำ นอกจากประชาชนจะได้ใช้ประโย ชน์จากการกักเก็บน้ำไว้ใช้ใ นการอุปโภค บริโภค รวมทั้งใช้ในการเกษตรอีกด้ว ย แล้วก็จะเป็นหนทางหนึ่งที่จ ะช่วยแก้ปัญหาอุทกภัยได้ด้ว ย เพราะมีคู คลอง ไว้เป็นที่รับน้ำได้เป็นอย่ างดี

จะเอาเป็นช่องทางหนึ่งในการ หาเงินเข้ากระเป๋าก็ยังได้ (มีงาน มีโครงการ เป็นต้องมีช่องทางหาเงินทั้ งนั้นแหละครับ)

ทำไมไม่ทำ.!??

 
ปภ.ประกาศพื้นที่ภัยแล้ง 51 จังหวัดรุนแรง 32 จังหวัด

ปภ.ประกาศพื้นที่ภัยแล้ง 51 จังหวัดรุนแรง 32 จังหวัด กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.)รายงานสถานการณ์ภัยแล้งว่าปัจจุบันมีพื้นที่ได้ประกาศเป็นพื้นที่ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) ตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2555 – ปัจจุบัน จำนวน 51 จังหวัด 508 อำเภอ 3,466 ตำบล 37,240 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 3,362,123 ครัวเรือน 12,409,544 คน พื้นที่การเกษตรได้รับความเสียหายประมาณ 729,876 ไร่ โดยแบ่งเป็น 3 ระดับคือ
- ระดับรุนแรง 32 จังหวัด (มีหมู่บ้านประสบภัยแล้งมากกว่าร้อยละ 50) ได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์ เลย มุกดาหาร ประจวบคีรีขันธ์ สุโขทัย แพร่ อุดรธานี นครพนม น่าน แม่ฮ่องสอน บุรีรัมย์ ยโสธร ขอนแก่น หนองบัวลำภู บึงกาฬ ลำพูน สุรินทร์ พะเยาอุทัยธานี อุบลราชธานี ตาก สกลนคร ชัยภูมิ อำนาจเจริญ เชียงราย อุตรดิตถ์ จันทบุรี ลำปาง กำแพงเพชรหนองคาย พิษณุโลก และจังหวัดศรีสะเกษ (จังหวัดที่มีหมู่บ้านประสบภัยแล้งร้อยละ 100 จำนวน 3 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดกาฬสินธุ์ มุกดาหาร และจังหวัดเลย และจังหวัดที่มีหมู่บ้านประสบภัยแล้งมากกว่าร้อยละ 90 จำนวน 11 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สุโขทัย แพร่ นครพนม อุดรธานี น่าน แม่ฮ่องสอน บุรีรัมย์ ยโสธร หนองบัวลำภู และจังหวัดขอนแก่น)
- ระดับปานกลาง 9 จังหวัด (มีหมู่บ้านประสบภัยแล้งตั้งแต่ร้อยละ 25-50) ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา เพชรบุรี เพชรบูรณ์ มหาสารคาม ตราด ราชบุรีกาญจนบุรี เชียงใหม่ และจังหวัดปราจีนบุรี
- ระดับเล็กน้อย 10 จังหวัด (มีหมู่บ้านประสบภัยแล้งต่ำกว่าร้อยละ 25) ได้แก่ จังหวัดฉะเชิงเทรา สระแก้ว นครสวรรค์ ภูเก็ต ชัยนาท พิจิตร สุพรรณบุรีนครนายก ชลบุรี และจังหวัดสระบุรี

ผู้สื่อข่าว : วันวิศาข์ ภาคสุวรรณ์ 
วันที่ข่าว : 07 พฤษภาคม 2555

 

ผู้สื่อข่าว : ขนิษฐา ลือสัตย์
วันที่ข่าว : 07 พฤษภาคม 2555

 

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รายงานสถานการณ์ภัยแล้ง ปัจจุบันมีพื้นที่ได้ประกาศเป็นพื้นที่ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) จำนวน 51 จังหวัด

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รายงานสถานการณ์ภัยแล้ง มีพื้นที่ได้ประกาศเป็นพื้นที่ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง)แล้ว 51 จังหวัด
นายวิบูลย์ สงวนพงษ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยภัย เปิดเผยสถานการณ์ภัยแล้ง ว่า ปัจจุบันมีพื้นที่ได้ประกาศเป็นพื้นที่ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน(ภัยแล้ง)แล้ว 51 จังหวัด 508 อำเภอ 3,466 ตำบล 37,240 หมู่บ้าน มีระดับรุนแรง 32 จังหวัด มีภัยแล้งทุกหมู่บ้าน 3 จังหวัด คือ จังหวัดกาฬสินธุ์ เลย และมุกดาหาร ระดับปานกลาง 9 จังหวัด และระดับเล็กน้อย 10 จังหวัด
ส่วนสภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ทั่วประเทศ มีปริมาตรน้ำในอ่างฯ รวม 38,808 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือร้อยละ 55 มากกว่าปี 2554 จำนวน 1,653 ล้านลูกบาศก์เมตร แบ่งเป็นเขื่อนภูมิพล 6,533 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือร้อยละ 49 เขื่อนสิริกิติ์ 4,849 ล้านล้านลูกบาศก์เมตร หรือร้อยละ 51 สำหรับปริมาณน้ำฝนสูงสุดที่ อบต.แม่เกิ๋ง อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ วัดได้ 185.0 มม. อบต.ลำเลียง อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง วัดได้ 79.5 มม. อบต.เขาทะลุ อำเภอสวี จังหวัดชุมพร วัดได้ 64.5 มม. อุณหภูมิสูงสุดที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 35.0 องศาเซลเซียส เพชรบูรณ์ 33.4 องศาเซลเซียส จังหวัดตรัง 33.3 องศาเซลเซียส
ทั้งนี้ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ทุกเขตที่รับผิดชอบพื้นที่ประสบภัยแล้ง เตรียมพร้อมรับสถานการณ์ และแจ้งประชาชนภัยจากสภาวะอากาศแปรปรวนในลักษณะฝนฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรง สร้างความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินและเกษตรกร ที่อาจเกิดขึ้นใน 3-4 วันนี้ โดยจัดเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังตลอด 24 ชั่วโมง รวมทั้งเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ให้สามารถช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้ทันต่อเหตุการณ์ 


 

“ปราโมทย์” แนะนักจัดการน้ำ-บริหารข้อม ูล อย่าปกปิดปชช. แจงแนวโน้มสถานการณ์น้ำในช่ วงอุทกภัย ด้านสว. สมุทรสงคราม ค้านข้อเสนอตั้งกระทรวงน้ำ หวั่นจะเกิดปัญหาคอขวด

วันที่ 17 มกราคม คณะอนุกรรมาธิการพิจารณา ศึกษา ติดตามและตรวจสอบการดำเนินง านด้านสิทธิและเสรีภาพ ในคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยช น สิทธิเสรีภาพและการคุ้มครอง ผู้บริโภค วุฒิสภา ร่วมกับ สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ ์แห่งประเทศไทย และสมาคมนักข่าววิทยุและโทร ทัศน์ จัดเสวนา เรื่อง “การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพขอ งประชาชนในการรับรู้และเข้า ถึงข้อมูลข่าวสาร ในช่วงภัยพิบัติ : กรณีศึกษาการบริหารจัดการกา รสื่อสารมหาอุทกภัย 54” ณ อาคารสมาคมนักข่าวฯ โดยมี นายสุรจิต ชีรเวทย์ สมาชิกวุฒิสภา จ.สมุทรสงคราม นายปราโมทย์ ไม้กลัด รองประธานกรรมการ คนที่ 1 มูลนิธิสภาเตือนภัยพิบัติแห ่งชาติ รศ.ดร.เสรี วงษ์มณฑา นักวิชาการด้านการตลาด ร่วมเสวนา
 
มหากาพย์ใช้งบมหาศาล แก้ปัญหาปลายเหตุ

นายสุรจิต กล่าวว่า การบริหารจัดการความรู้และข ้อมูลตันสินใจของรัฐบาลในช่ วงภัยพิบัติไม่ได้บริหารบนข ้อมูล แต่เป็นไปในลักษณะที่เพิ่มค วามรุนแรงของปัญหา ทั้งนี้ สังคมไทยมักลืมง่ายและโหยหา คำตอบง่ายๆ เพียงคำตอบเดียว เช่น ข้อเสนอให้ตั้งกระทรวงน้ำที ่เดียว เพื่อแก้ปัญหาจากศูนย์กลาง แต่กลับจะทำให้ปัญหากลายเป็ นคอขวด โดยที่รัฐมนตรีก็ตัดสินใจแบ บไม่มีความรู้

“นักการเมืองที่นั่งอยู่บนย อด คอยร่างแผนปฏิบัติงาน ส่วนข้าราชการประจำก็ทำตามห น้าที่ แต่คำสั่งทางปกครองไม่ได้เด ินไปพร้อมกับปัญหา ที่ผ่านมาเราเห็นแต่คำสั่งต ามสูตร อย่างงบประมาณเพื่อตอบสนองแ ผนจัดการน้ำระยะสั้นจำนวนมห าศาลนั้น ก็ยังไม่มีรายละเอียดว่าจะใ ช้ทำอะไรบ้าง ดังนั้น เราต้องถอดบทเรียนข้อนี้ให้ ได้ ไม่อย่างนั้นการแก้ปัญหาจะผ ิดพลาดเหมือนอย่างที่ผ่านมา  ที่ใช้งบประมาณไปมหาศาลในกา รแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ” 

นายสุรจิต กล่าวถึงแนวคิดในการแก้ปัญห าส่วนท้ายน้ำด้วยว่า ต้องทำน้ำให้แบน เตี้ยและสอดคล้องกับภูมิประ เทศ แล้วค่อยเร่งน้ำลงทะเล ส่วนเรื่องผังเมืองที่มีควา มล้มเหลวโดยสิ้นเชิงอยู่แล้ วนั้น ก็ต้องสร้างยุทธศาสตร์ที่ยอ มให้น้ำท่วมได้บ้าง แต่ชุมชนต้องมีส่วนร่วมในกา รเป็นจิกซอว์ตัวหนึ่ง ทั้งนี้ แม้วิถีชีวิตของคนกรุงเทพฯ จะเปลี่ยนไป แต่บางอย่างที่จำเป็นต้องรั กษาไว้ก็ต้องทำ เช่น ลำคลองที่มีอยู่ในขณะนี้ก็ป ่วยหมด ต้องสะสางทั้งคลองให้กลับมา ใช้ได้ เพื่อเป็นทางระบายน้ำตามธรร มชาติ เพราะแนวคิดที่จะสู้กับน้ำน ั้นเป็นแนวคิดทีสิ้นเปลืองม หาศาล

สำหรับยุทธศาสตร์การแก้ไขน้ ำท่วมนั้น นายสุรจิต กล่าวด้วยว่า เราต้องยอมให้น้ำท่วมได้บ้า ง ให้มีกระแสไหล และมีระดับที่ไม่สูงจนเกินไ ป ขณะที่แนวคิดตั้งสู้ นับเป็นการสิ้นเปลืองอย่างม หาศาล

ธรรมเนียมการเผยแพร่ข้อมูล จุดอ่อนหน่วยงานรัฐ 

ขณะที่นายปราโมทย์ กล่าวถึงภัยพิบัติทางธรรมชา ติในครั้งนี้ เรียกได้ว่า เป็นมหาวิกฤติที่ไม่เคยพบเห ็นมาก่อน เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนมิถุน ายน กระทั่งเดือนกันยายน 2554 ที่ฝนเริ่มมาที่ภาคเหนือ ไล่เรียงจนมาเกิดพายุ และร่องความกดอากาศต่ำในช่ว งเดือนกันยายน ในช่วงเหตุการณ์เหล่านั้นมี ข้อมูลอยู่จำนวนมาก ทั้งข้อมูลน้ำฝน น้ำท่าและน้ำล้นตลิ่ง ซึ่งกรมชลประทาน และกรมอุตุนิยมวิทยาได้รวบร วมข้อมูลไว้อย่างตรงและชัดเ จนที่สุด แต่สิ่งที่เป็นปัญหา คือ การเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ

“ไม่ใช่เรื่องของความบกพร่อ งทางข้อมูล แต่หน่วยงานต่างๆ ของภาครัฐมีธรรมเนียมในการด ูแลและเผยแพร่ข้อมูลแบบไม่เ คร่งครัดจริงจัง ตั้งแต่อุทกภัยปี 2545 ปี 2549 และปี 2553 เรามีข้อมูลอุทกภัยอยู่มาก แต่อยู่ในคลังข้อมูล ไม่ได้นำมาเผยแพร่อย่างชัดเ จน หน่วยงานราชการแถลงกับสื่อม วลชนก็เป็นแค่การเกาะติดสถา นการณ์น้ำแบบธรรมดา แต่ข้อมูลการไหลของน้ำและน้ ำล้นตลิ่งเป็นรายชั่วโมงไม่ มีการเผยแพร่ ทำให้เกิดความโกลาหล ดังนั้น หน่วยงานไม่มีเจตนาที่จะปกป ิด แต่จุดอ่อน คือ การให้ความสำคัญเกี่ยวกับกา รบอกกล่าวข้อมูลสู่สาธารณะ”

นายปราโมทย์ กล่าวต่อว่า ในยุคนี้ข้อมูลมีหลายฝ่าย หลายหน่วยงานและเป็นข้อมูลท ี่มีความสับสน บางครั้งข้อมูลก็ไม่ผูกสัมพ ันธ์กัน อีกทั้งไม่มีการสื่อให้ประช าชนเห็นว่า ความรุนแรงที่จะเกิดขึ้นในอ นาคตจะเป็นอย่างไร ทั้งที่การเคลื่อนตัวของน้ำ ก็ไม่ได้หยุดนิ่ง มีการเคลื่อนไหวตลอดเวลา 

“นักเทคนิคหรือผู้บริหารข้อ มูลจะต้องสื่อให้ประชาชนรับ รู้ว่า อันตรายที่เกิดขึ้นจากนี้จะ เป็นอย่างไร และสื่อสารข้อมูลที่วิเคราะ ห์ผ่านสื่อ และที่ผ่านมาสื่อก็ได้รับข้ อมูลแบบไม่เป็นระบบ ทั้งนี้ หากนักบริหารข้อมูลหรือนักบ ริหารน้ำไม่ทราบ หรือบริหารไม่ได้ ก็ต้องบอกกับประชาชนอย่างตร งไปตรงมา อย่าปกปิด อย่างน้อยต้องบอกแนวโน้มว่า ต่อไปจะเป็นอย่างไร เพื่อให้ผู้ที่อยู่ในลุ่มน้ ำได้รับทราบสถานการณ์ที่กำล ังคืบคานมา และเตรียมการอย่างทันเวลา" นายปราโมทย์ กล่าว และว่า การบอกกล่าวให้ประชาชนที่มี ส่วนกระทบจากอันตรายได้รู้ถ ึงสถานการณ์และสภาพที่แท้จร ิงอย่างถูกต้องและเป็นเอกภา พยังไม่เกิดขึ้น

ในส่วนที่รัฐบาลตั้งศูนย์ข้ อมูล เช่น ศปภ. เข้ามารับผิดชอบและแก้ปัญหา นั้น นายปราโมทย์ กล่าวว่า เป็นการบริหารข้อมูลและจัดก ารปัญหาที่ไม่มีแม่ทัพ ทำให้เกิดความสับสน ชุลมุนวุ่นวายและไม่รู้ว่าอ ะไรควรหรือไม่ควรพูด

“การบริหารจัดการน้ำในปี 2538 ไม่ได้ตั้งศูนย์อพยพ แต่ละหน่วยงานช่วยกันคิด โดยรัฐบาลไม่ต้องมาก้าวก่าย มาก และมีการจัดการข้อมูลและแถล งข้อมูลอย่างเป็นจริง แต่ปัจจุบันไม่มีแม่ทัพน้ำ ในขณะที่น้ำเพิ่มระดับทุกวั นแบบไดนามิก การให้ความสำคัญในการบอกกล่ าวข้อมูลข่าวสารน้อยเกินไป และข้อมูลที่เผยแพร่ก็เป็นข ้อมูลแบบชุลมุน ประชาชนรับข่าวสารแบบสับสน แท้ที่จริงแล้วประชาชนก็มีเ สรีภาพในการรับรู้ข้อมูลข่า วสาร แต่ฝ่ายเจ้าหน้าที่กลับอ่อน ปวกเปียกในการนำข้อมูลข่าวส ารเหล่านั้นไปให้ประชาชน”

นายปราโมทย์ กล่าวด้วยว่า ที่ผ่านมาไม่เคยมีการจัดการ น้ำอย่างยั่งยืน ทั้งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวเคยรับสั่งไว้โดยเฉพ าะในปี 2538 ได้พระราชทานหลักคิดไว้มาก ว่า ไม่ควรอัดอั้นหรือกักกั้นน้ ำ ต้องเร่งหาทางระบายน้ำลงอ่า วไทยโดยเร็วที่สุด ฟลัดเวย์ทางธรรมชาติก็มีอยู ่ที่ฝั่งตะวันออกของกทม. แต่ผู้เกี่ยวข้องไม่ได้นำมา ต่อยอด คิดต่อและศึกษาเพิ่มเติม กลับกันมีการกักกั้นไม่ให้น ้ำผ่านจนก่อให้เกิดความขัดแ ย้งและน้ำไม่มีโอกาสระบายสู ่อ่าวไทย ซึ่งเป็นการทำให้ระบบธรรมชา ติบกพร่อง 

นายปราโมทย์ กล่าวถึง การทำงานของคณะกรรมการ กยน.ด้วยว่า แผนแม่บท 8 ข้อของ กยน.มีการกำหนดกรอบไว้กว้าง มาก แต่ยังไม่มีการเริ่มศึกษารา ยละเอียดโครงการ รูปแบบของพื้นที่รับน้ำและจ ุดที่จะเป็นพื้นที่รับน้ำ รวมทั้งการทำความเข้าใจกับป ระชาชน แต่เริ่มพูดถึงค่าใช้จ่ายแล ะอนุมัติตัวเลขงบประมาณไปแล ้ว 

รัฐแก้วิกฤติน้ำ ไม่คำนึงอารมณ์มนุษย์

ด้านรศ.ดร.เสรี กล่าวว่า เสรีภาพการเข้าถึงข้อมูลข่า วสารของประชาชนไม่ได้เป็นปั ญหา แต่ข้อมูลที่หน่วยงานต่างๆ เผยแพร่กลับไม่มีคุณภาพ และก่อให้เกิดความสับสน ทั้งที่มีข้อมูลอยู่ตั้งแต่ กลางปี แต่รัฐบาลประเมินผิดและไม่ต ระหนักว่า สถานการณ์อุทกภัยอยู่ในขั้น วิกฤติ การบริหารการสื่อสารจึงเป็น ภาวะธรรมดา ไม่ใช่การสื่อสารในภาวะวิกฤ ติ 

“เห็นด้วยว่า ควรจะมีแม่ทัพน้ำในการบริหา รจัดการน้ำอย่างเป็นเอกภาพ แต่ในด้านการสื่อสารก็ควรมี แม่ทัพสื่อเช่นกัน ไม่อย่างนั้นการสื่อสารจะเป ็นไปอย่างสับสน ดังนั้น ในภาวะวิกฤติรัฐต้องตระหนัก และตั้งหน่วยงานสื่อสารที่เ ป็นเอกภาพขึ้นมาทันที อย่ามองเรื่องการสื่อสารในภ าวะวิกฤติเป็นเรื่องสามัญสำ นึก ที่ใครก็ทำได้ เพราะเป็นเรื่องที่สำคัญที่ จะทำให้ประชาชนอยู่รอดปลอดภ ัยอย่างไม่วิตกหรือขาดข้อมู ลจนเกินไป ดังนั้น ที่ผ่านมารัฐบาลจึงล้มเหลวท ี่จะทำให้เกิดภาวะเช่นนี้”

รศ.ดร.เสรี กล่าวต่อว่า หน่วยงานแม่ทัพสื่อต้องมีรา ยงานประจำวันเป็นข่าวด่วน (Breaking News) จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือไ ด้และมีเอกภาพ ขณะเดียวกันการแก้วิกฤติของ รัฐ ก็ไม่คำนึงถึงอารมณ์ของมนุษ ย์ การสื่อสารในภาวะวิกฤติไม่ใ ช่ว่าไม่มี แต่เป็นการสื่อสารที่ไร้คุณ ภาพและผิดพลาด ฉะนั้น เมื่อเกิดภาวะวิกฤติรัฐบาลต ้องตระหนักตั้งแต่เริ่ม เพื่อทำงานเชิงรุก และเมื่อเกิดวิกฤติแล้วก็ต้ องทำงานเชิงรับ โดยตั้งแม่ทัพทั้งฝ่ายเทคนิ คและฝ่ายสื่อสาร รายงานให้ครบถ้วนว่าเกิดอะไ รขึ้นบ้าง รัฐบาลทำอะไรไปบ้างและควรทำ อะไรต่อไป

รศ.ดร.เสรี กล่าวว่า หน่วยงานนี้ต้องมีครบทั้งแม ่ทัพน้ำ นักกฎหมาย นักเทคนิค เยียวยาทางกายภาพและเยียวยา อารมณ์ เรื่องที่อยู่อาศัยให้ขึ้นก ับกระทรวงมหาดไทย เรื่องโรคให้ ขึ้นกับกระทรวงสาธารณสุข และเรื่องสภาพจิตใจให้ขึ้นก ับกระทรวงพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ รวมทั้งมีฝ่ายการเงินด้วย 

ผู้สื่อข่าวรายงานว่าในช่วง ท้าย รศ.ดร.เสรี กล่าวถึงปัญหาคอร์รัปชั่นใน ประเทศไทยด้วยว่า หลักๆ คือ ปัญหาการนิ่งเฉย กล่าวคือ ทั้งสื่อ นักวิชาการ ผู้นำทางความคิดและประชาชนต ่างนิ่งเฉยกับปัญหา ทำให้ผู้ทำไม่ดี ตระหนักและฉกฉวยโอกาสในความ เฉยนี้กระทำต่อไป 

“เราสามารถแบ่งคนในสังคมไทย  ได้เป็น 4 กลุ่ม คือ 1.กลุ่มชื่นชมคนทำไม่ดี 2.กลุ่มคนที่ได้ผลประโยชน์จ ากการทำไม่ดี 3.กลุ่มผู้หวาดกลัวหากจะเปิ ดเผยข้อมูลผู้ทำไม่ดี และ 4.กลุ่มที่คิดว่าประเทศไทยไ ม่ใช่ของตนคนเดียว ซึ่งทั้ง 4 กลุ่มก่อให้เกิดความนิ่งเฉย ต่อปัญหา ดังนั้น สิ่งที่ประชาชนทั่วไปสามารถ ทำได้ คือ สร้างกระแสในโซเชียลมีเดียใ ห้แรง จนพวกออฟมีเดียนำมาเป็นกระแ สสังคม เพราะปัจจุบันนี้คนที่ทำเลว  ทำชั่วกลัวสื่อมากกว่ากฎหมา ย”
 · แชร์
 

โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟูพื้นที่ชุ่มน้ำหนอง
บัวพระเจ้าหลวง

 

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เยี่ยมชมโครงการอนุรักษ์ฟื้นฟูพื้นที่ชุ่มน้ำหนองบัวพระเจ้าหลวง จ.เชียงใหม่ พร้อมอู้คำเมือง ถึงแผนฟื้นฟูป้องกันน้ำท่วมน้ำแล้ว แม่ครูอินแก้ว ชัยศรีอายุเลขานุการชมรมผู้สูอายุ ดอยสะเก็ดผูกข้อมือบายศรีสูข้วญ ให้กับนายกพร้อมอวยพรให้เป็นหลายๆปี อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ และเดินทางไปเยี่ยมชมโครงการศูนย์พัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่

 

คืบหน้าสะพานขาด ต.ชะมาย

คืบหน้าสะพานขาด บ้านหนองแสง หมู่ 1 ต.ชะมาย อ.ทุ่งสง และเมื่อเวลา
09.00 น.วันที่ 16 มกราคม 2555 ได้มีหน่วยงานหลายฝ่ายเข้ามาตรวจ
สอบพื้นที่ประกอบ เทศบาลเมืองทุ่งสง อบต.ชะมาย แขวงการทาง อ.ทุ่งสง
และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อ.ทุ่งสง โดยทางเทศบาลเมืองทุ่งสง
โดยนายทรงชัย วงษ์วัชรดำรงนายกเทศมนตรีเมืองทุ่งสง ได้สั่งการ
ให้กองช่าง หน่วย
บรรเทาสาธรณภัย ได้นำรภบรรทุกดินมาถมให้ได้ประมาณ 8 เมตร เพื่อให้ฝ่ายแขวงการทางสามารถนำสะพานมาเชื่อมต่อเพื่อให้รถยนต์
เล็กสามารถวิ่งใช้งานได้ชั่วคราว จากนั้นจะได้ประสานกรมชลประทาน
ที่ได้งบประมาณมาแล้วดำเนิน
การก่อสร้างใหม่ให้แล้วเสร็จต่อไป

 

โกลาหลทั่วเกาะภูเก็ตแผ่นดินไหวรู้สึกได้รุนแรงกว่าที่ผ่านๆมา จนรับรู้ถึงความสั่นสะเทือนเป็นวงกว้าง วิ่งหนีจ้าละหวั่นแม้จะไม่มีประกาศเตือนภัยสึนามิ ทำเอาเส้นทางขึ้นเขาป่าตองรถติดยากว่า 5 กิโลเมตร เมื่อเวลา 16.46 น. วันที่ 16 เมษายนนี้ ผู้สื่อข่าวรายงานว่าเกิดแผ่นดินไหว ที่จังหวัดภูเก็ต อาคารบ้านเรือนประชาชน ที่ทำการหน่วยงานราชการ ประชาชนและข้าราชการเจ้าหน้าที่ บริษัทต่างๆ ผู้เกี่ยวข้องรู้สึกได้และมีความรุนแรงมากกว่าครั้งที่ผ่านมาเมื่อวันที่ 11 เมษายนในเบื้องต้น ยังไม่มีการรายงานความเสียหาย หรือการแจ้งเตือนจากจังหวัดภูเก็ตและหน่วยงานความมั่นคงใดๆ ขณะที่การจราจรเริ่มหนาแน่น และประชาชนเริ่มแตกตื่นและหนีออกจากอาคารบ้านเรือนบ้างแล้ว โดยมีรายงานว่าประชาชนที่กำลังจับจ่ายซื้อของและเดินเล่ในห้างเซ็นทรัล ห้างบิ๊กซี ใจกลางเมืองภูเก็ตรู้สึกได้ถึงการสั่นไหว ต่างพากันออกจากอาคารอย่างโกลาหล ทั้งนี้พื้นที่ทีมีรายงานการรับรู้ถึงการสั่นไหวมีวงกว้าง เช่นที่บ้านพอน อ.ถลาง หาดกมลา-หาดป่าตอง อ.กะทู้ รวมถึงในตัวเมืองหน้าเรือนจำภูเก็ต บ้านเรือนบางแห่งมีสิ่งของตกลงมาจากหิ้งพระหรือที่สูง ในส่วนของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรทุ่งทอง ได้ปิดกั้นการจราจร เส้นทางกะทู้-ป่าตอง ป้องกัน จราจรติดขัดขณะ

ดูเพิ่มเติม

 

รมว.ทส.ปล่อยคาราวาน “กระทรวงทรัพย์ฯ รวมใจ คืนความสุขคนไทยทั้งแผ่นดิน ” (4/1/ 2012)

  

นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรร มชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นประธาน ในพิธีปล่อยคาราวาน “กระทรวงทรัพย์ฯ รวมใจ คืนความสุขคนไทยทั้งแผ่นดิน ” เพื่อเร่งให้ความช่วยเหลือป ระชาชนที่ประสบอุทกภัยหลังน ้ำลด และฟื้นฟูความเสียหายด้านแห ล่งน้ำบาดาลในพื้นที่น้ำท่ว ม 63 จังหวัด โดยมีนายศักดา นพสิทธิ์ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระ ทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม นายโชติ ตราชู ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาต ิและสิ่งแวดล้อม นายปราณีต ร้อยบาง อธิบกรมทรัพยากรน้ำบาดาล เข้าร่วม ในพิธี

 · แชร์
  • ภาค 4 ส่งกำลังกู้เส้นทาง "บ้านกรุงชิง"



  • ทภ.4 เร่งส่งกำลังพลเข้ากู้เส้นทางกรุงชิง นครศรีฯ แพทย์รพ.ค่ายวชิราวุธเข้าพื้นที่ช่วยผู้ป่วยที่ยังติดอยู่ไม่สามารถออกมาได้ 2หนุ่มวัย15 ขี่จยย.มาถูฏน้ำซัดลงคลองชลประทานดับทั้งคู่ ที่พัทลุง 7 อำเภอน้ำท่วมสูงระดับน้ำเฉลี่ยอยู่ที่ 1.50 เมตร อ.เมือง อ.เขาชัยสนและอ.ควนขนุน ยังต้องใช้เรือในการสัญจร เขตเทศบาลเมืองพัทลุงและย่านโรงพยาบาลพัทลุง กลับเข้าสู่ภาวะปกติ 5โรงเรียนในอำเภอเมืองปัตตานีน้ำท่วมปิดไม่มีกำหนด

 

มท.1เปิดศูนย์7วันอันตรายปีใหม่55Image

ประธานกรรมการ และผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน (ศปถ.) แถลงเปิดศูนย์อำนวยการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2555 ระหว่างวันที่ 29 ธันวาคม 2554 - 4 มกราคม 2555 ขอสื่อช่วยประชาสัมพันธ์นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในฐานะประธาน

 
ชุมพรพบศพเหยื่อคลื่นยักษ์
Image

เมื่อเวลา 13.15 น.วันที่ 28 ธ.ค.พ.ต.ท สุรินทร์ ชูศรี สารวัตรเวรสภ ละแม จ.ชุมพร รับแจ้งพบศพ ที่ชายทะเลหมู่ที่ 5ต ละแม อ.ละแม จ.ชุมพร  พร้อมด้วย หน่วยกู้ภัยสมาคมพุทธประทีปหลังสวน กำลังตำรวจจำนวนหนึ่งรุดไปที่เกิดเหตุ 
ที่เกิดเหตุชายทะเล หน้ามหาวิทยาลัยแม่โจ้วิทยาเขต ละแม  พบว่าเป็นศพไม่ทราบเพศ ไม่มีเสื้อผ้าสวมใส่สูง

สมาชิกเครือข่ายโทรทัศน์ครู รวมพลังครู กทม.เร่งฟื้นฟู รร. อยุธยาหลังน้ำลด

รศ.ลัดดา ภู่เกียรติ ในฐานะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ โครงการโทรทัศน์ครู กล่าวว่าสืบเนื่องจากสถานกา รณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นอย่าง รุนแรงในหลายพื้นที่ ส่งผลกระทบความเสียหายให้กั บโรงเรียนจำนวนมาก ดังนั้นโครงการโทรทัศน์ครู โดยสำนักงานคณะกรรมการการอุ ดมศึกษา ที่มีสมาชิกเครือข่ายโทรทัศ น์ครูกว่า 120,000 คน จึงเกิดการรวมกลุ่มสมาชิกที ่มีจิตอาสา กลุ่มครู นักเรียนจากโรงเรียนในกรุงเ ทพฯ เช่น รร.สาธิตพัฒนา รร.วิชากร รร.จิระศาสตร์ รวมกว่า 150 คน ลงพื้นที่ทำกิจกรรมจิตอาสาเ ร่งฟื้นฟูโรงเรียนที่ได้รับ ความเสียหายในจังหวัดพระนคร ศรีอยุธยา ได้แก่ รร.วัดประดู่ทรงธรรม รร.เทศบาลวัดแม่นางปลื้ม รร.ลุมพลีชนูปถัมน์ รร.วัดพระญาติการาม ทั้งการทาสี ขัด ล้าง ทำความสะอาด พื้น ป้าย อาคารเรียน อุปกรณ์สำนักงาน สื่อการเรียนการสอนต่างๆ เพื่อให้กลับคืนสู่สภาพปกติ พร้อมสำหรับการเปิดภาคเรียน
ครูเฉลิมชัย วัดข้าวหลาม ครูโรงเรียนราชวินิต ประถม หนึ่งในสมาชิกเครือข่ายโทรท ัศน์ครูที่มีจิตอาสาร่วมลงพ ื้นที่ฟื้นฟูโรงเรียนในครั้ งนี้กล่าวว่า รู้สึกดีใจมากที่ได้มีโอกาส มาร่วมทำกิจกรรมกับเพื่อนๆจ ิตอาสาของโทรทัศน์ครู และน่าใจหายที่เห็นสภาพโรงเ รียนที่ได้รับความเสียหายจา กน้ำท่วมใหญ่ แต่เชื่อว่าพลังความร่วมมือ ร่วมใจของพวกเราในวันนี้จะเ ป็นส่วนหนึ่งในการฟื้นฟูและ เป็นกำลังใจให้กับเพื่อนครู ต่อไป
 

นายกรัฐมนตรีสั่งเร่งซ่อมแซ มถนน-สะพานทันทีพร้อมมอบเงิ นช่วยเหลือชาวอ.นบพิตำ
นายกรัฐมนตรีและคณะเดินทางล งพื้นที่อ.นบพิตำ จ.นครศรีธรรมราช ชื่นชมชาวกรุงชิงช่วยเหลือป ระชาชนที่ประสบอุทกภัย พร้อมสั่งเร่งซ่อมแซมถนน สะพานคอนกรีตเสริมเหล็กทันท ี

เมื่อวานนี้ (8 ม.ค. 55) เวลา 11.20 น. นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี พร้อมด้วย นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทย นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพย ากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นางฐิติมา ฉายแสง โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี  และคณะ เดินทางออกจากท่าอากาศยานทห ารกองบิน 6 อาคารใหม่ ดอนเมือง มุ่งหน้าสู่ท่าอากาศยานนครศ รีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อตรวจเยี่ยมมอบเงินและถ ุงยังชีพให้แก่ประชาชนที่ผู ้ประสบภัย กรณีเกิดเหตุอุทกภัยในพื้นท ี่อำเภอ นบพิตำ โดยมีนายวิโรจน์ จิวะรังสรรค์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธ รรมราช พร้อมด้วยหัวหน้าส่วนราชการ  นายอำเภอ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท ้องถิ่น ผู้นำท้องที่ และประชาชนชาวจังหวัดนครศรี ธรรมราช ให้การต้อนรับ นายกรัฐมนตรีและคณะได้เดินท างไปยังโรงเรียนบ้านปากลง ตำบลกรุงชิง อำเภอนบพิตำ โดยเฮลิคอปเตอร์เพื่อไปยังส นามจอดเฮลิคอปเตอร์ชั่วคราว ขององค์การบริหารส่วนตำบลกร ุงชิง และเดินทางต่อไปยังศูนย์พัฒ นาเด็กเล็ก บ้านปากลง หมู่ที่ 6 โดยขบวนรถยนต์ ในระหว่างทางนายกรัฐมนตรีแล ะคณะได้แวะดูพื้นที่ก่อสร้า งสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก ข้ามคลองกาย ซึ่งจังหวัดขอรับการสนับสนุ นงบประมาณ จำนวน 2 โครงการ เป็นเงินประมาณ 53 ล้านบาท
 

เมื่อนายกรัฐมนตรีเดินทางถึ งศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านปากลง หมู่ที่ 6 ได้เข้ากราบนมัสการพระครูภั ทรธรรมาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดถ้ำเขาเหล็ก จากนั้นรับฟังรายงานผลการปฏ ิบัติงานการช่วยเหลือผู้ประ สบภัย ในเขตกองทัพภาคที่ 4 จากพลโทอุดมชัย ธรรมสาโรรัชต์ แม่ทัพภาคที่ 4 จบแล้ว ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธ รรมราช กล่าวรายงานสรุปว่า ตามที่ได้เกิดอุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม ในหลายพื้นที่ของจังหวัดซึ่ งขณะนี้ได้ประกาศเป็นพื้นที ่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน แล้ว จำนวน 15 อำเภอ 115 ตำบล 1,062 หมู่บ้าน 118,391 ครัวเรือน 353,200 คน อพยพ 2,659 คน เสียหายทั้งหลัง 14 หลัง บางส่วน 50 หลัง เรือประมง 45 ลำ ความเสียหายเบื้องต้นประมาณ  120 ล้านบาท

โดยในส่วนของพื้นที่อำเภอนบ พิตำ มีประชาชนได้รับความเสียหาย จากเหตุการณ์ จำนวน 4 ตำบล 38 หมู่บ้าน 6,185 ครัวเรือน 19,767 คน บ้านเสียหายทั้งหลัง 8 หลัง เสียหายบางส่วน 19 หลัง สะพานคอนกรีตเสริมเหล็กได้ร ับความเสียหายใช้การไม่ได้ 2 แห่ง ในส่วนด้านการเกษตร ปศุสัตว์ ประมง และสิ่งสาธารณประโยชน์อื่น ๆ อยู่ระหว่างการสำรวจความเสี ยหายเพิ่มเติม 
พร้อมกันนี้ จังหวัดนครศรีธรรมราชได้เตร ียมขอรับการสนับสนุนงบประมา ณจากรัฐบาล เพื่อช่วยเหลือเป็นกรณีเร่ง ด่วน รวม 3 รายการ ดังนี้

1) ก่อสร้างสะพานคอนกรีตเสริมเ หล็ก ข้ามคลองกาย 2 แห่ง คือ ระหว่างหมู่ที่ 5 บ้านสวนปราง กับ หมู่ที่ 6 บ้านปากลง เสียหายใช้การไม่ได้ ความยาว 120 เมตร กว้าง 9 เมตร ใช้งบประมาณในการก่อสร้าง 27 ล้านบาท และก่อสร้างสะพานคอนกรีตเสร ิมเหล็ก ข้ามคลองกาย หมู่ที่ 6 บ้านปากลง เสียหายใช้การไม่ได้ ความยาว 120 เมตร กว้าง 9 เมตร ใช้งบประมาณในการก่อสร้าง 26 ล้านบาท รวม 2 โครงการ เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 53 ล้านบาท

2) จังหวัดนครศรีธรรมราชได้จัด ทำโครงการขอใช้พื้นที่ป่าสง วนแห่งชาติ จำนวน 133 ไร่ 2 งาน 50 ตารางวา ในพื้นที่หมู่ที่ 3 ตำบลแหลมตะลุมพุก อำเภอปากพนัง เพื่อเป็นที่อยู่อาศัยให้แก ่ผู้ประสบภัยจากคลื่นกัดเซา ะชายฝั่ง จำนวน 569 ครัวเรือน ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท ี่ 26 เมษายน 2554 เสนอต่อกรมอุทยานแห่งชาติสั ตว์ป่าและพันธุ์พืช และกรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมแล้ว

3) จังหวัดนครศรีธรรมราช ขอยกเว้นระเบียบกระทรวงการค ลัง เรื่อง ขออนุมัติปฏิบัตินอกเหนือหล ักเกณฑ์และวิธีดำเนินการให้ ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิ บัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 (กรณีเหตุวาตภัย คลื่นลมแรง คลื่นกัดเซาะชายฝั่ง) เพื่อก่อสร้างแนวหินใหญ่ป้อ งกันการกัดเซาะชายฝั่งในพื้ นที่ตำบลแหลมตะลุมพุก อำเภอปากพนัง จำนวน 1 โครงการ เป็นเงิน 4,896,000 บาท และตำบลหน้าสตน อำเภอหัวไทร จำนวน 3 โครงการ เป็นเงิน 5 ล้านบาท รวม 4 โครงการเป็นเงินจำนวน 9,896,000 บาท โดยใช้งบประมาณในอำนาจของผู ้ว่าราชการจังหวัด

โอกาสนี้ นายกรัฐมนตรี มอบเงินช่วยเหลือผู้ประสบสา ธารณภัยที่บ้านได้รับความเส ียหายทั้งหลัง จำนวน 8 ราย ๆ ละ 30,000 บาท เสียหายบางส่วน 19 หลัง เป็นเงิน 182,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 422,000 บาท พร้อมทั้งมอบถุงยังชีพให้แก ่ตัวแทนหมู่บ้าน ๆ ละ 5 คน รวม 20 คน จำนวน 1,300 ชุด

จากนั้น นายกรัฐมนตรีได้กล่าวกับประ ชาชนชาวอ.นบพิตำที่มารอให้ก ารต้อนรับ ว่า รัฐบาลได้ติดตามในเรื่องโรค ภัยต่าง ๆ และได้ประกาศให้ 9 จังหวัดภาคใต้เป็นพื้นที่ที ่ประสบภัยพิบัติร้ายแรง ถือว่าอุทกภัยครั้งนี้ที่ชา วใต้เจอนั้นปริมาณน้ำต่าง ๆ และปริมาณน้ำฝนมีมาก โดยนายกรัฐมนตรีกล่าวว่า "ตัวไม่ได้มาแต่ใจเป็นห่วง อยากพูดคำว่า "วั้งเหวิดชาวใต้ จังฮู้เลย" ซึ่งได้รับเสียงปรบมือจากปร ะชาชนที่มาให้การต้อนรับ และบอกว่า "สงสัยต้องมาบ่อย ๆ จะได้หัดพูดทางใต้ได้บ้าง" 

นายกรัฐมนตรี กล่าวต่อว่า รัฐบาลได้ติดตามแก้ไขปัญหาเ ร่งด่วน คือ ได้ย้ำสั่งการทางกระทรวงมหา ดไทยและผู้ว่าราชการจังหวัด ทุกจังหวัด ในการประกาศพื้นที่ภัยพิบัต ิร้ายแรง และพร้อมกับสำรองงบประมาณฉุ กเฉินให้กับผู้ว่าราชการจัง หวัด เพื่อช่วยเหลือดูและประชาชน ที่ประสบภัยได้ทันที โดยเฉพาะจังหวัดนครศรีธรรมร าชนั้นมีปริมาณน้ำมาก พร้อมทั้งกระทรวงกลาโหมได้ม อบหมายให้กองทัพภาคที่ 4 เข้าช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภ ัยในพื้นที่จังหวัดภาคใต้ ทั้งนี้ การแก้ไขปัญหาจะทำควบคู่กัน ไปทั้งเฉพาะหน้าและระยะยาวเ พื่อบริหารจัดการน้ำอย่างยั ่งยืน และเตรียมรับมือกับฤดูฝนที่ จะมาถึงนี้

นายกรัฐมนตรีกล่าวอีกว่ารัฐ บาลจะเร่งติดตั้งระบบเตือนภ ัยพิบัติในพื้นที่เสี่ยงต่า ง ๆ ให้แล้วเสร็จโดยเร็ว และขอบคุณภาครัฐ ภาคประชาชนจิตอาสาที่มีส่วน ร่วมในการช่วยเตือนภัยประชา ชนในครั้งนี้ ก็ขอฝากรองนายกรัฐมนตรี (นายยงยุทธฯ) ช่วยขยายผลในเรื่องนี้ด้วย ซึ่งรัฐบาลจะต้องเร่งปรับปร ุงระบบการเตือนภัยในการรวบร วมข้อมูลการเตือนภัยต่าง ๆ แต่ความร่วมมือจากประชาชนต้ องลงไปถึงทุกพื้นที่ และขอถือโอกาสนี้ชื่นชมและย กย่องพี่น้องชาวกรุงชิง ตำบลกรุงชิง ที่ได้เข้ามาช่วยกัน โดยทราบว่ามี 2 อำเภอที่ทำงานร่วมกันกว่าร้ อยชีวิต แต่สิ่งที่ได้ประโยชน์มหาศา ลคือการช่วยเหลือชีวิตคน ไม่ให้ประสบอุบัติเหตุต่าง ๆ เหล่านี้เป็นต้น

สำหรับปัญหาที่ผู้ว่าราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราชเสนอมา นั้น นายกรัฐมนตรี กล่าวว่า รู้สึกดีใจ เพราะไม่ต้องการที่จะลงมาพื ้นที่เพื่อจะมาเยี่ยมเยียนอ ย่างเดียว แต่สิ่งที่ต้องการจะทำคือมา ติดตามและแก้ไขปัญหา ซึ่งวันนี้น้ำลดแล้ว เราเข้าสู่ระยะของการฟื้นฟู  โดยจะทำทั้งการฟื้นฟูด้านจิ ตใจของประชาชน และฟื้นฟูด้านโครงสร้างพื้น ฐาน ต้องขอบคุณที่ทางผู้ว่าราชก ารจังหวัดได้หยิบยกปัญหาเรื ่องของสะพานคอนกรีตเสริมเหล ็ก ข้ามคลองกาย ขึ้นมา เพราะปัญหานี้เกิดขึ้นตั้งแ ต่เดือนมีนาคม 2554 แล้ว จึงขอฝากปัญหานี้เป็นปัญหาต ัวอย่างกับทางกระทรวงมหาดไท ยว่า ไม่อยากเห็นปัญหาอย่างนี้ สิ่งไหนที่ขาดในทุกจังหวัด ควรจะเข้าไปตรวจตราและซ่อมแ ซมดูแล และขอให้ผู้ว่าราชการจังหวั ดนำเรื่องดังกล่าวส่งให้รอง นายกรัฐมนตรี (นายยงยุทธฯ) ในฐานะประธานคณะกรรมการเพื่ อให้ความช่วยเหลือ ฟื้นฟู เยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์อุทกภัย (กฟย.) เพื่อพิจารณาจัดสรรงบประมาณ ให้ต่อไป และขอความร่วมมือทางกองทัพ กรมทางหลวง และจังหวัด ช่วยกันเร่งซ่อมแซมสะพานคอน กรีตเสริมเหล็กทั้ง 2 แห่งให้กลับคืนสู่สภาพปกติโ ดยเร็วที่สุด

สำหรับการขอใช้พื้นที่ป่าสง วนแห่งชาติ จำนวน 133 ไร่ 2 งาน 50 ตารางวา เพื่อเป็นที่อยู่อาศัยให้แก ่ผู้ประสบภัยจากคลื่นกัดเซา ะชายฝั่งนั้น นายกรัฐมนตรีแสดงความเห็นด้ วย โดยจะให้รัฐมนตรีว่าการกระท รวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมรับเรื่องนี้ไปดำเนิ นการทันที รวมทั้งความช่วยเหลือในเรื่ องการก่อสร้างถนนคอนกรีต การก่อสร้างแนวหินใหญ่ป้องก ันการกัดเซาะชายฝั่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นเร่งด ่วน ก็เห็นชอบให้ทำทันทีโดยใช้ง บประมาณในส่วนของผู้ว่าราชก ารจังหวัดดำเนินการ

"สิ่งที่มาวันนี้ดีใจ ต้องขอขอบคุณและขอแสดงความเ สียใจกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับภัยพิบัติธรร มชาติต่าง ๆ ทำให้พี่น้องหลายท่านมีความ ทุกข์ ดิฉันก็มีความทุกข์ไม่น้อย ยืนยันว่าไม่ว่าจะอยู่จังหว ัดไหน ภาคไหน ตราบใดที่พี่น้องประชาชนคนไ ทยมีความทุกข์ นั่นก็คือเป็นความทุกข์ของร ัฐบาลด้วย ก็ถือโอกาสนี้ให้กำลังใจ ทราบว่าชาวใต้กำลังใจแข็งแร งดี วันนี้มาช่วยเหลือแก้ปัญหา ก็ขอเป็นตัวแทนในนามของรัฐบ าลให้กำลังใจพี่น้องชาวใต้ท ุกท่านด้วย โดยเฉพาะ 9 จังหวัด" นายกรัฐมนตรีกล่าว

นายกรัฐมนตรีได้ขอบคุณผู้ว่ าราชการจังหวัด ภาคประชาชน หน่วยงานต่าง ๆ กองทัพภาคที่ 4 เจ้าหน้าที่ทุกหน่วยงานที่เ ข้ามาแก้ไขปัญหาครั้งนี้ให้ กับประชาชนในพื้นที่ภาคใต้ พร้อมกันนี้ได้อวยพรปีใหม่ โดยขอให้เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ผ่านพ้นไปที่เป็นฝันร้าย  ปีนี้ขอให้เป็นปีที่ดีและขอ ถือโอกาสนี้ส่งกำลังใจให้กั บพี่น้องชาวอำเภอนบพิตำ ให้มีแต่ความสุข ความเจริญ และขอส่งกำลังใจจากพวกเราไป ยังพี่น้องชาวใต้ทั้ง 9 จังหวัดด้วย ให้มีกำลังใจแข็งแรงเข้มแข็ ง ความอดทนที่ฟันฝ่ามา ทุกอย่างขอให้เป็นพื้นฐานกำ ลังใจของพวกเราในการที่จะต่ อสู้และก้าวไปข้างหน้าร่วมก ัน เพื่อให้ประเทศชาติของเรามี แต่ความสุข ความเจริญ มั่งคั่ง และขอให้ทุกคนมีสุขภาพสมบูร ณ์แข็งแรง

จากนั้น นายกรัฐมนตรีได้พบปะและให้ก ำลังใจประชาชนที่ประสบอุทกภ ัย เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจแก่ ชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช เสร็จแล้วนายกรัฐมนตรีและคณ ะเดินทางจากสนามจอดเฮลิคอปเ ตอร์ชั่วคราว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตำบลกรุงชิง เพื่อกลับไปท่าอากาศยานนครศ รีธรรมราช โดยระหว่างนั้นได้ใช้เฮลิคอ ปเตอร์บินวนดูพื้นที่แหลมตะ ลุมพุกด้วย ก่อนเดินทางกลับถึงท่าอากาศ ยานทหาร กองบิน 6 ดอนเมือง กรุงเทพมหานคร ในเวลาประมาณ 17.00 น.

 · แชร์
 

วันที่(4 ม.ค.55) สถานการณ์อุทกภัยในเขตเทศบาลนคร  นครศรีธรรมราช ขณะนี้ปริมาณน้ำที่ไหลเข้าท่วมต ัวเมืองยังคงทรงตัว ที่ถนนพัฒนาการคูขวาง พบว่า ตามตรอกซอกซอยต่างๆมีน้ำท่วมสูง ประมาณ 1 เมตร รถเล็กสัญจรลำบาก เจ้าหน้าที่ได้ติดตั้งเครื่องสู บน้ำเพื่อเร่งระบายน้ำออกลงทะเล ที่ต.ปากนคร
ส่วนที่คลองหน้าเมือง ทางเทศบาลนครฯยังคงปักธงแดง แจ้งเตือนประชาชนรับน้ำป่าที่ไห ลลงมาจากอ.ลานสกา ที่ปริมาณน้ำยังคงไหลแรง ขณะที่ราคาอาหารทะเลเริ่มมีการปรับตัวสูงข ึ้น 20-30% แล้ว เพราะส่วนใหญ่รับมาจาก อ.สิชล และท่าศาลาที่ประสบอุทกภัยด้วย
ส่วนสภาพอากาศล่าสุด ในตัวเมืองปรากฏว่าท้องฟ้าเริ่ม เปิดแล้วแต่ก็ยังมีฝนตกลงมาเป็น ระยะ
ทั้งนี้จ.นครศรีธรรมราช ประกาศให้ทั้ง 11 อำเภอเป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติ ฉุกเฉินกรณีอุทกภัยแล้ว ประชาชนเดือดร้อนแล้วกว่า 1 แสนคน ด้าน จ.ชุมพร หมวดการทางหลังสวน เร่งระบายรถช่วงขาขึ้น กทม. ซึ่งเคลื่อนตัวได้ช้ามาก เนื่องจากมีน้ำท่วมผิวการจราจร น้ำยังท่วมถนนสายเอเชีย ระดับน้ำสูง 10-20 ระยะทางยาวกว่า 5 กม. ส่วน รพ.หลังสวน น้ำท่วมสูง 60 ซม.

นายวรวิทย์ ชัยลิมปมนตรี กรรมการผู้จัดการธนาคารอาคา รสงเคราะห์ (ธอส.) เดินทางมาร่วมฟื้นฟูโรงเรีย นสาคลีวิทยา อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา

เพื่อช่วยเหลือให้สถานศึกษา พร้อมเปิดภาคเรียน และฟื้นฟูพื้นที่บริเวณใกล้ เคียงให้กลับคืนสู่สภาพปกติ หลังน้ำลด โดยมีศิลปินจิตอาสา จากค่ายอาร์เอสเข้าร่วมกิจก รรมด้วยอาทิ แคทรัตกาล, หญิง ฐิติกานต์, อลิซ อาร์สยาม และหวิว ณัฐพนธ์ เป็นต้น นายวรวิทย์ กล่าวว่า จากเหตุการณ์อุทกภัยที่ เกิดขึ้น ส่งผลให้หลายพื้นที่รวมถึงโ รงเรียนสาคลีวิทยา และ ชุมชนใกล้เคียงในจังหวัดพระ นครศรีอยุธยาได้รับความเสีย  หายอย่างมาก ดังนั้นธอส.จึงจัดกิจกรรม ฟื้นฟูหลังน้ำลด (Big Cleaning Day)โดยมีนักเรียนโรงเรียน สาคลีวิทยา ร่วมกันทำความสะอาด ปลูกต้นไม้ ทาสีอาคาร รวมทั้ง ฟื้นฟูชุมชนใกล้เคียงที่อยู ่ใกล้เคียงให้กลับคืนสู่สภา พปกติ พร้อมทังจัดหาอุปกรณ์การเรี ยนการ สอนที่จำเป็นเบื้องต้นมามอบ ให้ เพื่อให้โรงเรียนและชุมชน ใกล้เคียงให้กลับมาอยู่ในสภ าพพร้อมที่จะดำรงชีวิตได้ตา ม ปกติต่อไป

 · แชร์
 

กรมชลฯ เผยกู้ “บางโฉมศรี”ใช้เวลา2 ปี

กรมชลฯ เผยกู้ ”บางโฉมศรี”ใช้เวลา2 ปี- ชาวบ้านหมี่ผวาหวั่นท่วมอีก  เมื่อเวลา 13.00 น. ที่ห้องประชุม สำนักชลประทานที่ 12 เขื่อนเจ้าพระยาจังหวัดชัยน าท นายชลิต ดำรงศักดิ์ อธิบดีกรมชลประทานได้เรียกป ระชุม ผู้อำนวยการโครงการส่งน้ำแล ะบำรุงรักษาในเขตภาคเหนือตอ นล่างและภาคกลาง พร้อมด้วยผู้อำนวยการก่อสร้ างในเขตภาคเหนือตอนล่างและภ าคกลางตอนบนกว่า 10 โครงการ เข้าร่วมประชุมเพื่อวางแผนฟ ื้นฟูในเขตจังหวัดที่น้ำท่ว ม และที่สำคัญการก่อสร้างประต ูระบายน้ำบางโฉมศรี และสถานีสูบน้ำบางโฉมศรี แต่ในขณะนี้เพียงเตรียมการส ำรวจพื้นที่การก่อสร้างแต่ป ระตูน้ำบางโฉมศรีเก่าเพียงซ ่อมให้ใช้การได้ไปก่อน รายงานข่าวแจ้งว่า ชาวบ้านในเขตอำเภอบ้านหมี่ เริ่มหวาดผวาว่าในไม่ช้าจะถ ึงฤดูฝน จะมีฝนตกลงมาเหมือนปีที่ผ่า นมา ชาวอำเภอบ้านหมี่จะทำอย่างไ ร เพราะหากประตูน้ำบางโฉมศรี ยังซ่อมไม่เสร็จ เหรงว่าน้ำมีโอกาสท่วมในเขต อำเภอบ้านหมี่ อำเภอท่าวุ้ งอีกอย่างแน่นอน ทั้งนี้ชาวบ้านเชื่อว่ากรมช ลประทานจะใช้เวลาการสร้างปร ะตูน้ำบางโฉมศรีใหม่ นานถึง 2 ปี ทำให้ประชาชนชาวอำเภอบ้านหม ี่วิตกวังกลว่า ในฤดูน้ำที่จะมาถึงในช่วงน้ ำหลากจะทำให้น้ำท่วมในเขตอำ เภอบ้านหมี่อีก เพราะการก่อสร้างประตูน้ำบา งโฉมศรีนั้นใช้เวลานานมาก นายสมจิตร คำรักษ์ นายก อบต.บ้านชี อำเภอบ้านหมี่ กล่าวว่า ข่าวการซ่อมประตูน้ำบางโฉมศ รี แพร่ออกไป ทำให้ประชาชนในเขตลุ่มน้ำบา งขามไม่สบายใน เพราะเหลืออีกไม่กี่เดือนก็ จะเข้าฤดูฝน ประตูน้ำบางโฉมศรีถึงจะซ่อม ทันอาจจะไม่สามารถกั้นไม่ให ้น้ำทะลักเข้าท่วมอำเภอบ้าน หมี่ได้ อีกทั้งในขณะนี้ชาวบ้านก็หม ั่นว่าน้ำจะท่วมอีก เพราะการที่กรมชลประทานจะสร ้างประตูระบายน้ำบางโฉมศรีข ึ้นมาใหม่ต้องใช้เวลานานถึง  2 ปี แล้วกรมชลแน่ใจหรือจะไมให้น ้ำเข้าท่วมในเขตอำเภอบ้านหม ี่อีก ความเสียหายมากมายแค่สาธารณ ูปโภคในตำบลบ้านชีก็มากกว่า  50 ล้าน หากน้ำเข้าแม่น้ำบางขามก็จะ ท่วมใหญ่อีก ด้านนายนพพร ชัยพิชิต ผู้อำนวยการ สำนักชลประทานที่ 10 กล่าวว่า การก่อสร้างประตูน้ำบางโฉมศ รี เขต อำเภออินทร์บุรี ในตำบลชีน้ำร้ายมจังหวัดสิง ห์บุรี ทางกรมชลประทานจะส่งหน่วยงา นก่อสร้างมาจากส่วนกลางโดยต รงมาสร้างประตูน้ำบางโฉมศรี เองโดยไม่ทำการจ้างเหมาบริษ ัทใด แต่จะมีการซื้อวัสดุจากร้าน ในเขตใกล้เคียง การก่อสร้างจะต้องใช้เวลาถึ ง 2 ปี โดยจะสร้างใกล้ๆกับประตูน้ำ บางโฉมศรี จะสร้างตรงที่น้ำพัดพังการก ่อสร้างจะใช้งบประมาณ กว่า 200 ล้านบาท และจะสร้างสถานีสูบน้ำขนาดใ หญ่ ตรงประตูน้ำบางโฉมศรีเก่าใน ปัจจุบัน เป็นงบผูกพัน การก่อสร้างอาจจะเริ่มในเดื อนมีนาคมนี้ “ประตูน้ำบางโฉมศรี ที่พังอยู่ในขณะนี้ ประตูระบายน้ำไม่ได้เสียหาย  แต่จะซ่อมคันกั้นน้ำ ให้เสร็จ จะซ่อมสะพานที่ประตูน้ำบางโ ฉมศรีที่พังให้ใช้การได้ และจะซ่อมฝายน้ำล้นที่ประตู น้ำบางโฉมศรี ที่พังให้เสร็จทันก่อนเดือน มิถุนายนที่จะมาถึงนี้ การซ่อมในครั้งนี้ใช้งบประม าณส่วนหนึ่งและจะต้องเร่งมื อให้เสร็จทันก่อนที่จะถึงฤด ูฝนที่จะมา หากปีนี้น้ำมากอาจจะล้นฝายบ ้างแต่คงไม่มากเหมือนยอย่าง ปีที่ผ่านมา ทางกรมชลประทานจะต้องเร่งซ่ อมให้เสร็จทันหน้าน้ำ”นายนพ พร กล่าว

 · แชร์
 
 

CP-CPF มอบอาหารช่วยผู้ประสบภัยในงานร่วมใจคืนรอยยิ้มและความสุข

น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทย และนายศุภชัย เจียรวนนท์ ผู้แทนเครือเจริญโภคภัณฑ์ และ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ ร่วมกันมอบอาหารสำเร็จรูปตร าซีพีและน้ำดื่มแก่ผู้ประสบ ภัยในงาน “ร่วมใจคืนรอยยิ้มและความสุ ข” ณ เต็นท์อาหารซีพี ภายในวัดดอนเมือง เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ ทั้งนี้ ซีพี-ซีพีเอฟ ได้ให้ความช่วยเหลือผู้ประส บภัยน้ำท่วมอย่างต่อเนื่อง รวมมูลค่าความช่วยเหลือกว่า  200 ล้านบาท

 · แชร์
 

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี ร่วมแรง สร้าง “เรือน้ำใจปีบทอง” เตรียมลำเลียงสู่ผู้ประสบอุ ทกภัย

นักศึกษาและบุคลากร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี ร่วมแรงร่วมใจช่วยกันประกอบ เรือช่วยน้ำท่วม “เรือน้ำใจปีบทอง” จากแนวคิดและการออกแบบของ รองศาสตราจารย์ ดร.ทวิช จิตรสมบูรณ์ อาจารย์สาขาวิชาวิศวกรรมเคร ื่องกล ซึ่งจะสร้างในเบื้องต้นจำนว น 50 ลำ ด้วยเงินสนับสนุนจากมหาวิทย าลัยเทคโนโลยีสุรนารีและเงิ นบริจาคจากผู้มีจิตศรัทธา รวมทั้งภาคธุรกิจเอกชน ที่ร่วมสนับสนุนวัสดุอุปกรณ ์ อาทิ เหล็กเส้น รถเทรลเลอร์สำหรับขนส่งเรือ เพื่อส่งไปช่วยบรรเทาทุกข์ใ นพื้นที่ต่าง ๆ โดยมีนักศึกษาสาขาวิศวกรรมเ ครื่องกลและสาขาวิชาต่าง ๆ คณาจารย์และบุคลากรของมหาวิ ทยาลัย กว่า 300 คน รวมตัวกันช่วยสร้างเรือ ณ ลานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี จังหวัดนครราชสีมา โดยคาดว่าจะใช้เวลาประกอบเร ือจนถึงวันที่ 14 ตุลาคมนี้
ทั้งนี้ ผู้มีจิตศรัทธา ที่มีความประสงค์จะสนับสนุน โครงการนี้ สามารถบริจาคเงินสนับสนุนใน การประกอบเรือช่วยน้ำท่วม โดยโอนเงินผ่านทาง ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สาขามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุ รนารี ชื่อบัญชี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ 707-214444-2 ระบุ บริจาคเพื่อสร้างเรือน้ำใจป ีบทอง หรือ บริจาคเงินสมทบจัดหาถุงยังช ีพเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภั ยน้ำท่วม ได้ทางชื่อบัญชี มทส. ร่วมใจช่วยผู้ประสบอุทกภัย 54 บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ 707-249288-7 และให้ส่งสำเนาใบโอนเงิน พร้อมระบุชื่อ ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ มาที่ส่วนประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี โทรสาร 0 4422 4080 หรือที่ อีเมล์ pr@sut.ac.th เพื่อที่ทางมหาวิทยาลัยจะจั ดส่งใบเสร็จรับเงินสำหรับใช ้ประกอบการลดหย่อนภาษี สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไ ด้ที่ หมายเลขโทรศัพท์ 0-4422-4081-5

· แชร์

เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2554 พิราบขาว 40 – 41 และทีมงานพิราบขาวกับทีมงานเบาะแส และหน่วยงานต่างๆได้ร่วมกันนำสิ่งของไปแจกให้กับผู้ประสพภัยน้ำท่วมที่จังหวัดสิงห์บุรี ที่อำเภอ อินทร์บุรี และชุมนุมชนบ้านบางแค จังหวัดสิงห์บุรีพิราบขาว 40จึงเก็บภาพมาฝาก



 
ทีมข่าว อาร์ ทีวี วัน  

สกู๊ปพิเศษ บทความ ข้อคิด แง่คิด ดีดี มีสาระ เกร็ดความรู้ต่างๆ

อ่านบทความย้อนหลังได้ที่นี่ แชร์ไปที่ Facebook

“ครองใจคน” หลากหลายเหตุผลที่คนไทยรัก “ในหลวง” คลิกอ่านที่นี่

 

 วิกฤติการณ์น้ำท่วม หนนี้มีหลายแง่หลายมุมและหลากหลายอารมณ์ความรู้สึก สะท้อนออกมาผ่านโลกาภิวัตน์ของสื่อมวลชนมากมาย มีทั้งแง่มุมและความรู้สึกเชิงบวกและเชิงลบแต่แง่มุมสำหรับวิถียุติธรรม
ก็เป็นอีกแง่มุมหนึ่งที่จะมองข้ามไปไม่ได้

ถือว่าเป็นธรรมชาติของสรรพสิ่งที่จะต้องมีแง่มุมของความยุติธรรมแทรกอยู่เสมอไม่เว้นแม้แต่เรื่องของภัยพิบัติในรูปแบบต่างๆซึ่งต้องมองให้ครอบคลุมทุกเรื่อง
ตั้งแต่การบริหารจัดการน้ำที่มีอยู่ตามธรรมชาติให้ทุกคนได้มีกินมีใช้อย่างเต็มที่ หรือแม้แต่การเตรียมการเพื่อป้องกันน้ำท่วมเมื่อมีน้ำมากเกินไปหรือป้องกันการ
ขาดแคลนน้ำเมื่อน้ำไม่พอกินพอใช้ และสุดท้ายต้องรวมไปถึงการแก้ไขเยียวยาเมื่อเกิดความเสียหายขึ้น การมีโอกาสให้ชาวบ้านได้รับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับสถานการณ์น้ำทั้งในระบบชลประทานเพื่อการเกษตรหรือเพื่อการกินการใช้ในระดับชาวบ้าน รวมทั้งสถานการณ์ของน้ำในเขื่อนและอ่างเก็บน้ำอย่างเป็นระบบและเข้าใจได้อย่างง่ายๆ เป็นสิทธิพื้นๆ ของชาวบ้านที่ควรได้รับการเหลียวมองและถือว่าเป็นวิถียุติธรรมที่ต้องไม่มองข้าม  น้ำท่วม 2554 ซับน้ำตาด้วยน้ำใจ ข่าวน้ำท่วม สถานการณ์น้ำท่วม 2554 ในยามหน้าสิ่วหน้าขวานที่ชาวไทยนับล้านชีวิตกำลังเผชิญกับความยากลำบาก จากเหตุการณ์อุทกภัยครั้งรุนแรง เราได้เห็น "ธารน้ำใจ" ไหล หลั่งสู่พี่น้องประชาชนจากทั่วทุกสารทิศ มิแพ้ความแรงของสายน้ำที่ปะทะถาโถมเข้าสู่สิ่งกีดขวางตรงหน้า และเป็นภาพแห่งความน่าชื่นชมที่สร้างความอิ่มเอมใจให้ผู้ที่พบเห็นเป็นอย่าง ยิ่ง เพราะสองแรงแข็งขันของทุกหน่วยงาน ร่วมไม้ร่วมมือกันช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่างเต็มที่ แม้ว่าพวกเขาจะเหน็ดเหนื่อย แต่การทำงานก็ยังคงไม่หยุดหย่อน เพราะรู้ดีว่า อีกหลายพันหลายหมื่นชีวิตกำลังรอคอยความช่วยเหลืออยู่ 

           ในเวลาเดียวกัน คนจำนวนมากที่ไม่สามารถเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของการช่วยบรรจุถุงยังชีพ หรือลงพื้นที่ไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้ ก็ได้ร่วมกันบริจาคทรัพย์ อาหาร ข้าวของเครื่องใช้จำเป็น ผ่านหน่วยงานต่าง ๆ ที่จะลำเลียงไปส่งถึงผู้ประสบภัย รวมทั้งหลาย ๆ คน ก็เลือกใช้การส่ง SMS ฝากความห่วงใยไปถึงพี่น้องร่วมชาติผ่านทางหน้าจอโทรทัศน์ พร้อม ๆ กับการส่งกำลังใจผ่านโลกออนไลน์ ที่ขอให้ทุกคนมี "สติ" และฝ่าฝันมรสุมครั้งเลวร้ายของชีวิตไปให้จงได้  ..
นับเป็นโชคชะตาของคนไทยที่ได้ประสพภัยพิบัติครั้งนี้อย่างใหญ่หลวง เกือบทั่วทุกจังหวัดจากข่าวสารตามหน้าสื่อต่างๆ ที่เราทุกคนได้รับรู้ ถึงความเดือดร้อนของชาว
บ้านที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติน้ำท่วมครั้งนี้อย่างมากมายที่ต้องสูญเสียทรัพย์สินและชีวิตไปกับกระแสน้ำ แต่ไม่เท่าความรู้สึกของคนไทยที่ต้องเห็นพี่น้องของเรา
ต้องทนทุกข์ ลำบากยากเข็นกับความเป็นอยู่ที่ไม่สะดวกบายทั้งที่กินและที่นอน แต่ก็ยังมีคนไทยหลากหลายกลุ่มทั้งภาครัฐภาคเอกชน มูนิธิต่างๆ ได้เข้าช่วยเหลือพี่น้อง
ของเราที่ได้รับความเดือดร้อนครั้งนี้ ไม่ว่าภาคไหนต่างระดมการช่วยเหลือไปยังพี่น้องของเราที่ประสพภัยครั้งนี้
 ในเวลาเช่นนี้ ทำให้พวกเรานึกถึงบทเพลง "คนไทยไม่ทิ้งกัน" ที่ ขับร้องโดย ปาน ธนพร แวกประยูร ซึ่งเหมาะกับบรรยากาศในยามนี้ของ ประเทศไทยเป็นอย่างยิ่ง เพราะคำร้องที่ร้อยเรียงในเพลง "คนไทยไม่ทิ้งกัน" สะท้อนให้เห็นถึง "น้ำใจ" และ "จิตใจพื้นฐาน" ของคนไทยที่มีความ "รัก" ต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกันได้อย่างชัดเจน แม้ว่าเขาจะเป็น "ใครสักคน" ที่เราไม่รู้จัก แต่ทุกคนก็พร้อมจะซับน้ำตา และช่วยเหลือพวกเขาอย่างเต็มกำลัง 

            " อีกไม่นาน ความเจ็บปวดครั้งนี้จะผ่านไป ขอให้ผู้ประสบภัยทุกคน "อดทน" ลุกขึ้น "สู้" ใหม่อีกครั้ง และโปรดรับรู้ว่า การก้าวเดินครั้งใหม่นี้ จะมีคนไทยทุกคนคอยช่วยเหลือ และเป็นกำลังใจให้เสมอครับ "
จากน้ำใจทีมข่าวเยาวชนขอส่งใจให้กำลังใจทุกคนที่ประสพภัย
 · แชร
 

ข่าวเด็กและเยาวชน โดยพิราบขาวสื่อออนไลน์ ไร้พรมแดน 

คลิกอ่านข่าวทีมข่าวเยาวชน


ผู้ให้การสนับสนุนกิจกรรมเด็กและเยาวชน

 
ข่าวเยาวชนนำเสนอโดยเด็กและเยาวชน อายุ 10-18 ปี เพื่อนำเผยแพรู่่สูู่่สาธารณะ ให้กับเพื่อนๆเยาวชนรับข่าวสาร กิจกรรมต่าง และเป็นสื่อกลางระหว่างเด็กกับผู้ใหญ่ เป็นเวทีกิจกรรมการเรียนรู้การทำหน้าที่สื่อมวลชน การนำเสนอข่าว ทั้งนี้ทั้งนั้นเพื่อให้เด็กและ้เยาวชน ตระหนักถึงหน้าที่ที่ดี ไม่เป็นภาระให้กับผู้็ปกครองและเป็นตัวอย่างที่ดีในสังคม รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดกับตนเอง และสังคมรอบตัว
 
 
 
ศูนย์เฝ้าระวัง ติดตามพฤติกรรมเด็กและเยาวชน ในการเล่นอินเตอร์เน็ต การโพสข้อความ และรูปภาพในไฮไฟว์ เฟตบุ๊ค และ sms ในทางไม่เหมาะสม
หรือ พบเด็กและเยาวชนถูกกระทำทารุน ใช้แรงงานผิดกฎหมาย หรือ ไม่ได้รับความเป็นธรรมจากสถานศึกษา หรือหน่วยงานต่างๆ
โปรดแจ้ง สำนักข่าวเด็กและเยาวชน โทร.สายด่วน 085-979-8473 หรือส่งอีเมล์ rtv1_mobilestation@hotmail.com
 
ติดต่อประชาสัมพันธ์ข่าวสารต่างๆ โทร. 082-636-0445 เด็กหญิงสุทธิดา  สีดาธรรม (มุก)
ติดต่อประสารงานต่างๆ โทร. 084-111-6149 เด็กหญิงบุญยานุช รอดปัญญา (แจง)
 

คำขวัญวันเด็ก'สามัคคี มีความรู้คู่ปัญญา คงรักษาความเป็นไทย ใส่ใจเทคโนโลยี'

ทีมข่าวเยาวชน
   
ข่าวเยาวชนส่วนหนึ่งเป็นฝีมือของกลุ่มเยาวชน
 


 รายการร่วมด้วยช่วยเด็ก สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย  กรมประชาสัมพันธ์สวท.11 AM. 819 KHz.

พบกับรายการร่วมด้วยช่วยเด็ก ข่าวสาร สาระ เด็กและเยาวชน ทุกวันเสาร์ เวลา 15.00-17.00 น.
กับนักจัดรายการเด็กและเยาวชนที่มีจิตอาสาในการสร้างสรรค์รายการ เพื่อสังคมเด็กและเยาวชน เป็นการเรารวมตัวกันและดำเนินงาน  ในรูปแบบอาสาสมัครเด็กและเยาวชน
ได้รับการสนับสนุนจาก สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย  กรมประชาสัมพันธ์สวท.11 AM. 819 KHz.
อาจารย์อัศวิน ตราบนิรันดร ผู้อำนวยการสถานี อาร์ ทีวี วัน สื่อออนไลน์ไร้พรมแดน
คุณฉัตรชัย  เชื้อรามัญ ผู้อำนวยการขบวนการตาสับปะรด
นส.สกุณี  กีรติวงศ์วานิช    (พี่หน่อย)  ผู้ประสานงานศูนย์ฯ และสำนักข่าวเด็กฯ
นส.ชุติมา  ใจคง (พี่เอ๋)   ผู้ประสานงานรายกาวิทยุเด็กและเยาวชน 


วิทยุแห่งประเทศไทย AM 819 KHz   
ขอขอบคุณสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์


พื้นที่นี้…ดีจัง พื้นที่สร้างสรรค์เพื่อเยาวชน

คำขวัญวันเด็ก ประจำปี พ.ศ. 2554   “รอบคอบ รู้คิด มีจิตสาธาณะ”

เปิดตัวนักจัดรายการเยาวชนอายุ 13 ปี ผู้มีความใฝ่ฝันการเป็นดีเจ รุ่นเยาว์ สร้างปรากฏการณ์ในวงการดีเจคนรุ่นใหม่

บนหน้าปัดวิทยุ คลื่น FM. 102.75 Mhz.

เด็กหญิงบุญยานุช รอดปัญญา อายุ 12 ปี ปัจจุปันเรียนที่โรงเรียนสตรีวิทยา 2 เขตลาดพร้าว ระดับชั้นมัธยม 1 ห้อง 9 ไม่ได้คิดว่าตัวเองจะได้มีโอกาสมาจัดรายการวิทยุ แต่ก็เป็นความจริงไปแล้วที่ได้มาเป็นดีเจวัยรุ่นที่อายุน้อย ได้มีโอกาสทำรายการเองและเป็นเจ้าของรายการ เพื่อนเยาวชนเพื่อเยาวชน ทุกวันอาทิตย์ ประสพการณ์ไบรโอนี่ ผ่านการอบรมการจัดรายการ และสื่อมวลชน ถือว่าเป็นเยาวชนคนหนึ่งที่ก้าวไปสู่ความสำเร็จในด้านสื่อมวลชนและนักจัดรายการ เยาวชนคนรุ่นใหม่
ส่วนเด็กหญิงสุธิดา สีดาธรรมนะ อายุ 12 ปี ปัจจุบันเรียนที่ โรงเรียนลาดปลาเค้าพิทยาคม เขตลาดพร้าว ระดับชั้นมัธยม 1 ไม่ได้คิดเช่นเดียวกันที่จะมาเป็นดีเจ และโอกาสก็มาถึงจึงทำให้เขารักงานดีเจมาก จนเห็นพัฒนาการการเปลี่ยนแปลงของเขา และดีเจตาหวานก้อกำลังก้าวไปสู่ความเป็นนักจัดรายการแบบมืออาชีพ
ทั้งคู่ได้รับการสนับสนุนจากอาจารย์อัศวิน ตราบนิรันคร ผู้สร้างความฝันให้เป็นความจริงและไปสู่จุดหมาย

 

รายการเพื่อนเยาวชน เพื่อเยาวชน

๑. วัตถุประสงค์
๑.๑ เพื่อให้สาระความรู้กับเยาวชนในทุก ๆ ด้าน และปัญหายาเสพติด
๑.๒ เพื่อเผยแพร่กิจกรรมที่ดีให้เยาวชนได้รับข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่ตนเองและสังคม
๑.๓ เพื่อให้เยาวชนมีค่านิยมที่ดี มีความรักชาติ มีระเบียบวินัย รักและหวงแหนในศิลปะวัฒนธรรม ประเพณีของไทย และภาษาไทย
๒. แนวความคิดในการจัดทำรายการ
ปัจจุบันมีปัญหาเกิดขึ้นกับเยาวชนในหลาย ๆ ด้าน ทั้งทางด้านปัญหายาเสพติด อบายมุข และการล่วงและเมิดทางเพศ ฯลฯ
รายการวิทยุจึงเป็นสื่อมวลชนประเภทหนึ่งที่เข้าถึงจิตใจของเยาวชนได้ดี ทางรายการเพื่อนเยาวชนเพื่อเยาวชน
จึงได้ผลิตรายการเพื่อให้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อเยาวชน
ในลักษณ์การเป็นเพื่อนในการรับฟังปัญหา
และร่วมหาทางแก้ปัญหาให้กับเยาวชน ในขณะเดียวกัน ได้นำเยาวชนหรือผู้ที่ประสบผลสำเร็จในการทำงาน มาเป็นแบบอย่างให้กับเยาวชนอื่น ๆ อีกด้วย
๓. กลุ่มเป้าหมาย
- เยาวชน ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไป
๔. วัน-เวลา ในการออกอากาศ
ออกอากาศทางสถานีวิทยุ ระบบ FM.ความถี่ ๑๐๒.๗๕ MHz วันอาทิตย์ ระหว่างเวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.
๕. รูปแบบของรายการ
๕.๑ การให้สาระความรู้ มีเพลงเป็นสื่อ
๕.๒ การสนทนา/สัมภาษณ์ ผู้รับเชิญและผู้เกี่ยวข้อง
๖. ผู้ดำเนินรายการ
- ดีเจไบรโอนี่234 และ ดีเจตาหวาน ควบคุมรายการ อาจารย์อัศวิน ตราบนิรันดร
- ผู้เกี่ยวข้อง และผู้รับเชิญ

ได้เวลาเปิดตัวเสียทีกับดีเจไบรโอนี่234และดีเจตาหวาน หลังจากได้ทำการซุ้มทำรายการ เพื่อนเยาวชนเพื่อเยาวชนมาเกือบสามเดือนแล้ว หวังว่ารายการนี้คงเป็นประโยชน์ต่อเยาวชน และสังคม
ไม่มากก็น้อย การทำหน้าที่ของเยาวชนใวันหยุดถือว่าเป็นการที่
ใช้เวลาว่างมาสร้างสรรค์ผลงาน
บนหน้าปัดวิทยุ คลื่น FM.102.75Mhz.
ในทุกวันอาทิตย์ เวลา 09.00-11.00 น. เป็นประจำ โดยได้รับการสนับสนุนจากสถานี RTV1อาจารย์อัศวิน ตราบนิรันดร
และ อาจารย์บรรจบ กับ อาสนองการะเกด ร่วมทั้งเจ้าหน้าที่ทุกท่าน ของวิทยุคลื่นนี้
ขอสนับสนุนให้นักจัดรายการ ดีเจไบรโอนี และ ดีเจตาหวาน ทำหน้าที่ตัวแทนเยาวชนให้ประสพความสำเร็จที่มุ่งมั่นไว้
ก้าวไปสู่อนาคตที่ดี
จากทีมงานสถานี RTV1
 

ข่าวภูมิภาคทั่วไทย อัพเดททุก 24 ชั่วโมง

โดยทีมข่าวมืออาชีพ มากประสพการณ์

 

ข่าวเฉียบคม ถูกต้อง รวดเร็ว ฉับไว ทันเหตุการณ์  โดยทีมข่าวสถานี อาร์ ทีวี วัน คลิกอ่านข่าวที่นี่

โหลดใบสมัครนักข่าวเฉพาะกิจ  ตรวจสอบประวัตินักข่าว   ส่งภาพและวีดีโอข่าว
ติดต่อ e-mail : rtv1_station_thailand@hotmail.com
drupal statistics
อ่านข่าวพิราบขาว 40 คลิกที่นี่
อ่านข่าวพิราบขาว 50 คลิกที่นี่
อ่านข่าวพิราบขาว 60 คลิกที่นี่
อ่านข่าวพิราบขาว 70 คลิกที่นี่
อ่านข่าวพิราบขาว 90 คลิกที่นี่

อ่านข่าวภูธรย้อนหลังคลิกที่นี่         รายงานข่าวโดย พิราบขาว ทีมข่าวอาร์ ทีวี วัน


 
 
 


สอบถามเส้นทางได้ที่ Call Center 1586 โทร.02-354-6551 02-354-6668-76 ต่อ 2014 โทรสาร 02-664-5500
 
 

ประชาสัมพันธ์
CCTV ฟรี เพียงที่ทำงานมี Internet และเห็นสภาพจราจร

 
 

ข่าวสาร หนังสือพิมพ์(ต่างประเทศ)
ABC News I Asahi Shimbun I AP - Associated Press I BBC I Bangkok Shuho I CBS Sports Line I Chicago Tribune I CNET news I CNN I FOX News | Los Angeles Times I MSNBC I NBC I New York Time I Reuters | The Sun I Time.com I USA Today I Washington Post |

 
 
   ขอบคุณองค์กรที่ช่วยสนับสนุนกิจกรรมของเด็กและเยาวชน
 
สายด่วน กรมชล. 1460 เช็คปริมาณน้ำขึ้น
ศูนย์บริการข้อมูลผู้ใช้ไฟฟ้า 1129
Web Counter
ขอเชิญผู้ใจบุญร่วมบริจาคอาหารสุนัข
(ในโครงการช่วยเหลือน้องหมาที่อดอยาก) คลิกชมเว็บที่นี่
หรือติดต่อที่ชมรมรักน้องหมา และสถานี RTV1ศูนย์ข่าวออนไลน์ (www.rtv1.net) เนื่องจากตอนนี้อาหารหมากำลังใกล้จะหมดแล้ว จึงขอวิงวอนผู้ใจบุญทุกท่านช่วยเหลือน้องหมาที่กำลังอดอยาก ท่านสามารถเยี่ยมชมบ้านน้องหมาได้ที่ บ้านรักธรรมชาติ เลขที่ 145 ม.10 บ้านซำโสม ตำบลกบินทร์ อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี 25110 โทร. 081-254-1620
หรือติดต่อสถานี RTV1ศูนย์ข่าวออนไลน์ (www.rtv1.net)

โทร. 02-907-5425 มือถือโทร. 084-092-5068 e-mail : nong_mah@hotmail.co.th
 
ศูนย์เฝ้าระวัง ติดตามพฤติกรรมเด็กและเยาวชน ในการเล่นอินเตอร์เน็ต การโพสข้อความ และรูปภาพในไฮไฟว์ เฟตบุ๊ค และ sms ในทางไม่เหมาะสม
หรือ พบเด็กและเยาวชนถูกกระทำทารุน ใช้แรงงานผิดกฎหมาย หรือ ไม่ได้รับความเป็นธรรมจากสถานศึกษา หรือหน่วยงานต่างๆ
โปรดแจ้ง สำนักข่าวเด็กและเยาวชน โทร.สายด่วน 085-979-8473 หรือส่งอีเมล์ rtv1_mobilestation@hotmail.com
 
ติดต่อประชาสัมพันธ์ข่าวสารประสารงานต่างๆ โทร. 084-111-6149 บุญยานุช รอดปัญญา
 
กองบรรณาธิการและสำนักข่าวเด็กเยาวชน สถานี อาร์ ทีวี วัน ขอแสดงความขอบคุณมายังนักข่าว และช่างภาพ ทุกท่านที่ร่วมกันทำหน้าที่ดี ๆ 
มีประโยชน์ต่อสังคม ในการเผยแพร่ข่าวสารสู่สาธารณะชนอย่างต่อเนื่อง   และเชื่อมั่นว่าทุกท่านจะรักษาไว้ซึ่งคุณภาพของการนำเสนอข่าวสาร
และมิตรภาพในสื่อออนไลน์แห่งนี้ของเราต่อไป ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพทั้งหมดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของ RTV1.NET
 
 
ติดต่อ e-mail : rtv1_station_thailand@hotmail.com
@ copy 2007 by rtv1
Free Web Hosting